เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันจันทร์ที่ 29 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก กรุงศรีอยุธยา

แท็ก: กรุงศรีอยุธยา

ฮ่องเต้หย่งเล่อ ขู่ เจ้านครอินทร์

“ฮ่องเต้หย่งเล่อ” ขู่ “เจ้านครอินทร์” ให้ส่งตัวราชทูตจัมปาคืนเมือง...

บันทึกหมิงสือลู่ตรงกับวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1407 (พ.ศ. 1950) ซึ่งตรงกับรัชสมัยของ จักรพรรดิหย่งเล่อแห่งราชวงศ์หมิง พระองค์ได้มีศุภสารไปถึง เจาลู่ฉิ...
หลังกรุงแตก คน วุ่นวาย บ้านเมือง

ชะตากรรมเจ้าหญิงอยุธยาหลังกรุงแตก ย้อนบันทึกพม่าที่น่าสลดใจ

หลังกรุงแตก พระราชวงศ์กรุงศรีอยุธยาที่ตกค้างอยู่ในพระราชวังหลวงจำนวนหนึ่ง ถูกพม่ากวาดต้อนไปรวมกันไว้ที่ค่ายโพธิ์สามต้นฐานทัพใหญ่ของกองทัพพม่า รายงานใน...
เวที คือเดือนดาวดินฟ้าจะอาเพศ บนเวที มีนักวิชาการ 3 คน

ถอดรหัส “เพลงยาวพยากรณ์กรุงศรีอยุธยา” เหตุใดจึงเป็นบทร้อยกรองสำคัญของบ้านเมือง?

ข่าวลือ การทำนายทายทัก ล้วนมีอยู่ในทุกยุคทุกสมัย เช่น กรุงศรีอยุธยา ที่มีการพยากรณ์เรื่องราวในอนาคตบ้านเมืองผ่าน “เพลงยาวพยากรณ์กรุงศรีอยุธยา” ที่เราอ...
จิตรกรรมฝาผนัง เผา อยุธยา

บาทหลวงฝรั่งเศสอ้าง “เจ้านายผู้หญิง” มีอำนาจเทียบเท่า “กษัตริย์” ก่อนสิ้นแผ่นดิน...

มองเซนเยอร์บรีโกต์ บาทหลวงฝรั่งเศสอ้าง “เจ้านายผู้หญิง” มีอำนาจเทียบเท่า “กษัตริย์” จนเป็นเหตุที่ทำให้กฎหมายบ้านเมืองอ่อนแอ ก่อนสิ้นแผ่นดินกรุงศรีอยุธ...
ดาบ พระขรรค์ชัยศรี เครื่องทองโบราณ พิพิธภัณฑ์

เบื้องหลังภาพสะท้อน “เครื่องทองโบราณอยุธยา” พิพิธภัณฑ์เจ้าสามพระยา

เมื่อพูดถึง เครื่องทองโบราณ เครื่องทองจากกรุวัดราชบูรณะ ที่สร้างในรัชกาลสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) ปัจจุบันเก็บรักษา และจัดแสดงอยู่ที่พ...
สถูปเจ้าฟ้าอุทุมพร

สถูปเจ้าฟ้าอุทุมพร และลูกหลานชาวโยดะยาในพม่า “คุณหมอทิน มอง จี”

เรื่องราวของสถูปชานเมืองอมรปุระ ซึ่งตั้งอยู่ในสุสานลินซิน-กอง ใกล้กับปลายด้านหนึ่งของสะพานอูเบงอันโด่งดัง ที่สันนิษฐานว่าน่าจะเป็น สถูปเจ้าฟ้าอุทุมพร ...
โปสเตอร์ ภาพยนตร์ บางระจัน

บางระจัน กับประวัติศาสตร์ในวรรณกรรม สู่บทบาท “นายทองเหม็น” และอีกหลายนาม...

เนื้อหาเรื่อง "บางระจัน กับประวัติศาสตร์ในวรรณกรรม สู่บทบาท "นายทองเหม็น" และอีกหลายนาม" กองบรรณาธิการคัดบางส่วนและปรับเนื้อหาจากบทความ "บางระจัน : ปร...
กรุงเทพ พระบรมมหาราชวัง

ความเป็นกรุงเทพฯ ที่แท้จริง เริ่มสมัย “รัชกาลที่ 3”

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 ทรงมีบทบาทอย่างมากต่อการสร้างความเป็นกรุงเทพฯ เพราะกรุงเทพฯ ไม่ได้สร้างเสร็จในปีเดียว แม้ในแผ่นดิน...
ภาพถ่าย ชาวสยาม ใน บางกอก กรุงเทพฯ

สำเนียง คน “กรุงเทพฯ” (บางกอก) เคยถูกเหยียดว่า “บ้านนอก” สมัยนี้เหยียดสำเนียงอื่...

สำเนียง เป็นอีกหนึ่งอัตลักษณ์ซึ่งสามารถบ่งบอกที่มาที่ไปของแต่ละบุคคลได้ แต่ต้องยอมรับว่าบางครั้ง สำเนียง ของภาษาถิ่นมักถูก "คนจากศูนย์กลาง" ล้อเลียน ห...
ภาพวาด เกาะเมือง อยุธยา โดยชาวต่างชาติ

แกมป์เฟอร์ เล่าสภาพเกาะเมืองอยุธยา คล้าย “ฝ่าเท้า” ถนน-บ้านขุนนางล้วน “สกปรก”...

เอนเยลเบิร์ต แกมป์เฟอร์ (Engelbert Kaempfer) นายแพทย์ นักธรรมชาติวิทยา นักสำรวจ และนักเขียนชาวเยอรมันประจำคณะทูต ของบริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอแลนด์...

บุเรงนอง ที่ได้ฉายาว่า “ผู้ชนะสิบทิศ” ชนะใคร? ที่ไหน? มาบ้าง

บุเรงนอง ถือได้ว่าเป็นตัวบุคคลที่มีความสามารถในการรักษาและแผ่ขยายอำนาจของอาณาจักรพม่า จนกระทั่งได้รับสมญาว่า “ผู้ชนะสิบทิศ” บุเรงนอง เป็นกษัตริย์ผ...

จาก “แชร์นอเนิม” มาเป็น “ซาร์เนา” ชื่อเก่าอยุธยาก่อนการเข้ามาของโปรตุเกส

จาก “แชร์นอเนิม” มาเป็น “ซาร์เนา” ชื่อเก่า อยุธยา ก่อนการเข้ามาของโปรตุเกส ผมเห็นใจนุช วันหยุดแทนที่จะได้ไปเที่ยว แต่ผัวมัวขลุกอยู่ในห้อง นั่งเสิร์ชข...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น