เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันอังคารที่ 16 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก สถาบันกษัตริย์

แท็ก: สถาบันกษัตริย์

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร พระราชพิธีบรมราชาภิเษก 5 พฤษภาคม 2493

5 พฤษภาคม 2493: วันประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษก รัชกาลที่ 9

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ทรงขึ้นครองราชสมบัติสืบราชสันตติวงศ์เมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2489 แล้วได้ทรงประกอบพระรา...

รัชกาลที่ 4 ทรงมีประกาศห้ามขุนนางเข้าเฝ้า “เจ้านาย” ที่ทรงเมา..เจ้านายองค์นั้นคื...

รัชกาลที่ 4 ทรงมีประกาศสั่งไม่ให้ขุนนางเข้าเฝ้าเจ้านายที่เมื่อ "เสด็จอยู่วังมักทรงเมาโดยมาก" เนื้อหาเกี่ยวกับความประพฤติของเจ้านายองค์นี้ปรากฏในประชุม...

อธิบายว่าด้วยเรื่อง “พระภรรยาเจ้า”

“คำว่า ‘พระภรรยาเจ้า’ นั้นผู้เขียนไม่ได้บัญญัติขึ้นเอง แต่เป็นคำที่มีมาแต่เดิมแล้วในกฎมณเฑียรบาล ตามที่ปรากฏหลักฐานในงานพระนิพนธ์ของสมเด็จพระเจ้าบรมวง...

นานาสาระว่าด้วย “พระราชพิธีบรมราชาภิเษก”

สำหรับคนไทยเดือนพฤษภาคม 2562 จะไม่เหมือนเดือนพฤษภาคมอื่น ด้วยมี “พระราชพิธีบรมราชาภิเษก” อันเป็นเหตุการณ์ประวัติศาสตร์สำคัญของชาติเกิดขึ้น ที่มีขั้นตอ...

“พระธรรมเทศนาบรมราชาภิเษก” คำเทศนาสำหรับพระเจ้าแผ่นดิน

ในช่วงเวลาก่อนงาน "พระราชพิธีบรมราชาภิเษก" ในวันที่ 4 พฤษภาคมที่จะถึงนี้ สื่อต่างๆ มีการนำเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับพระราชพิธีในมิติที่แตกต่างกัน นิตยสาร ...

2489 กรมหมื่นพิทยลาภฯทรงแสดงปาฐกถา“เรื่องบรมราชาภิเษก”ที่สยามสมาคม

บทความนี้เป็นพระนิพนธ์ของพระวรวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยลาภพฤฒิยากร โดยเมื่อแรกทรง ตั้งพระทัยจะแปลจากปาฐกถา เรื่อง “THE OLD SIAMESE CONCEPTION OF THE MONACH...

พบหลักฐาน“พระราชพิธีบรมราชาภิเษก”มีมาตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 12

สำหรับ “พระราชพิธีบรมราชาภิเษก” ที่จะมีในวันที่ 4 พฤษภาคม 2562 นี้ นับเป็นพระราชพิธีสำคัญที่อยู่ในความสนใจของผู้คนจำนวนมาก ที่ผ่านมาการนำเสนอเกี่ยวกับ...

ย้อนรอยพระราชพิธีบรมราชาภิเษก 11 ครั้งในรัชกาลที่ 1 ถึง 9 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์

สำหรับกรุงรัตนโกสินทร์นั้นแม้จะมีพระมหากษัตริย์ปกครองมาถึงปัจจุบัน 10 รัชกาลด้วยกัน หากพระราชพิธีบรมราชาภิเษกที่ผ่านมา คือตั้งแต่รัชกาลที่ 1- รัชกาลที...

“จักรพรรดิอากิฮิโตะ” เมื่อครั้งยังเป็นมกุฎราชกุมาร

มกุฎราชกุมารอากิฮิโตะ (พระอิสริยยศในขณะนั้น) พร้อมด้วยพระโอรสองค์รอง เจ้าชายฟูมิฮิโตะ (กลาง) และมกุฎราชกุมารีมิชิโกะ (พระอิสริยยศในขณะนั้น) ขณะเร่งเสด...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น