เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันศุกร์ที่ 29 มีนาคม พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก สำนวนไทย

แท็ก: สำนวนไทย

จิตรกรรมฝาผนัง ลักเด็ก

คนไทยเรียก “เด็กไม่เอาถ่าน” หมายถึงเด็กไม่ดี ดูเหตุทำไม “เด็ก” ต้อง “เอาถ่าน”?...

คำพูดโบราณ ที่เราได้ยินกันอยู่เสมอว่า "เด็กไม่เอาถ่าน" ซึ่งมีความหมายว่าเด็กคนนี้ไม่เอาดี หรือไม่เอาไหนเสียเลย คำพูดดังกล่าวนี้ก็ยังใช้กับผู้ใหญ่อีกด้...
จิตรกรรม อิเหนา รบ กับ ท้าวกะหมังกุหนิง

“ว่าแต่เขา อิเหนาเป็นเอง” อิเหนาว่าใคร แล้วอิเหนาเป็นเหมือนใคร

สำนวน “ว่าแต่เขาอิเหนาเป็นเอง” นั้น พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 อธิบายสำนวนนี้ว่า “ว่าแต่เขาอิเหนาเป็นเอง (สำ) ก. ตำหนิผู้อื่นเรื่องใดแล้วตน...
เกวียน หน้า โรงเรียนประชาบาล ตำบลกร่ำ อำเภอแกลง จังหวัดระยอง

บ้านนอกคอกนา หรือ บ้านนอกขอกนา? “ขอก” หรือ “คอก” กันแน่!?...

บ้านนอกคอกนา หรือ บ้านนอกขอกนา "ขอก" หรือ "คอก" กันแน่!? เมื่อชูชกถูกเหล่าหมาของเจตบุตรไล่ขึ้นไปอยู่บนคาคบไม้ และเกลี้ยกล่อมจนเห็นเจตบุตรลังเลไม่ลั...
ตาลปัตรสวดศพ ไปไม่กลับ หลับไม่ตื่น ฟื้นไม่มี หนีไม่พ้น

“ไปไม่กลับ หลับไม่ตื่น ฟื้นไม่มี หนีไม่พ้น” ถ้อยคำบนตาลปัตรสวดศพ สำนวนนี้ของใคร ...

“ไปไม่กลับ หลับไม่ตื่น ฟื้นไม่มี หนีไม่พ้น” ถ้อยคำบน ตาลปัตรสวดศพ สำนวนนี้ของใคร มีที่มาอย่างไร? ชมพระประธานในโบสถ์ออกจะเป็นเรื่อง “คุ้นๆ” ไม่มีอะไ...
ฤๅษีแปลงสาร พระรถเมรี

รักรันทด “พระรถเมรี” เรื่อง(เบื้อง)หลังสำนวน “ฤๅษีแปลงสาร”

รักรันทด “พระรถเมรี” เรื่อง (เบื้อง) หลังสำนวน “ฤๅษีแปลงสาร” ปัจจุบัน “ฤๅษีแปลงสาร” เป็นสำนวนไทยที่มักถูกนำมาเปรียบเปรย เปรียบเทียบ กับสถานการณ์เมื...
ฉาก เกี้ยวพาราสี ใน จิตรกรรมฝาผนัง ภายใน อุโบสถ วัดวัง พัทลุง

สำนวน “เจ้าชู้ประตูดิน” มีที่มาจากไหน?

"เจ้าชู้ประตูดิน" คำนี้มีที่มาจากไหน? เกี่ยวอะไรกับ "ประตูดิน"? "ประตูดิน" เป็นคำปากชาวบ้านเรียกประตูวัง ซึ่งทางเดินเข้าออกตรงประตูนี้แต่เดิมคงจะเป...
ประติมากรรม สะโพกสุดเสียงสังข์

สำนวนไทย “สะโพกสุดเสียงสังข์” ชมความงามสตรี มีที่มาจากไหน?

คำถาม “อันเนื่องด้วยภาษา” มีเข้ามาอยู่บ่อยๆ เช่นคำถามตามชื่อเรื่องที่ว่า สำนวนไทย “สะโพกสุดเสียงสังข์” หมายความว่าอะไร นี่ไม่ใช่คำตอบเบ็ดเสร็จ แต่เป็น...
หัวโขน ไชยามพวาน

“ไชยามพวาน” หนึ่งใน “วานรสิบแปดมงกุฎ” ขุนศึกของพระราม

“ไชยามพวาน” คือหนึ่งในกลุ่มเสนาวานร กำลังสำคัญที่ช่วยพระรามปราบทศกัณฐ์ในเรื่อง รามเกียรติ์ โดยมีชื่อเรียกกลุ่มนี้ว่า “วานรสิบแปดมงกุฎ” ชื่อเดียวกับสำน...
เหาะเกินลงกา หนุมาน เหาะ รามเกียรติ์

“เหาะเกินลงกา” สำนวนเปรียบเทียบดีจาก “รามเกียรติ์” แต่ว่าใครสั่งให้ใครเหาะ

“เหาะเกินลงกา” เห็นก็รู้ทันทีว่าต้องมีที่มาจากวรรณคดีเรื่อง "รามเกียรติ์" แต่มีความหมายอย่างไร ใครสั่ง ใครเหาะนั้น คงต้องอ่านที่อาจารย์ล้อม เพ็งแก้ว ท...
ลงเรือแป๊ะ

“ลงเรือแป๊ะ ต้องตามใจแป๊ะ” สำนวนไทยที่แฝงนัยทางการเมือง?

“วันนี้ทุกคนลงเรือลำเดียวกันแล้ว เหมือนคำโบราณที่ว่า ลงเรือแป๊ะ ต้องตามใจแป๊ะ ไม่เช่นนั้นจะถูกไล่ลงจากเรือ ดังนั้นก็ต้องตามใจแป๊ะ”  เจ้าของประโยคข้...
สาวๆ จิตรกรรมฝาผนัง พระอุโบสถวัดกำแพงบางจาก คลองบางหลวง

“บ่างช่างยุ” สำนวนนี้เป็นมาอย่างไร “บ่าง” คือตัวอะไร แล้วไปยุใคร ?...

"บ่างช่างยุ" เป็นสำนวนไทยที่เกิดจากคำ 3 คำ คือ บ่าง (สัตว์ป่าชนิดหนึ่ง) + ช่าง (ชอบ, นิยม) + ยุ (ยุแยง, ทำให้แตกแยก) โดยพจนานุกรม ฉบับราชยัณฑิตยสถาน พ...
เกลือ ความอึด ความทน สำนวนไทย

ทำไมสำนวนไทยถึงใช้ “เกลือ” แทนความอึด ความทน? ทำไมต้องเป็นเกลือเค็มๆ?

สำนวนไทยที่บอกกล่าวให้อดทน กับความยากจน, ความลำบาก ที่มีคำว่า เกลือ ซึ่งคนคุ้นเคยว่า “ให้ทนกัดก้อนเกลือกิน” บ้าง “ให้รักษาความดีเหมือนเกลือรักษาความเค...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น