เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันอาทิตย์ที่ 26 มกราคม พ.ศ.2568
หน้าแรก แท็ก อยุธยา

แท็ก: อยุธยา

ตามรอย “สะพานช้าง-คลองประตูข้าวเปลือก” ฉากหลังครั้งสงครามกลางเมืองอยุธยา...

คลองประตูข้าวเปลือก หรือคลองประตูจีน เป็นคลองในเกาะเมืองศรีอยุธยา วางตัวในแนวเหนือ-ใต้ โดยทางทิศเหนือเชื่อมต่อกับแม่น้ำลพบุรี เรียกคลองประตูข้าวเปลือก...

ใครว่าสมเด็จพระนเรศไม่มีพระราชโอรส! สอบหลักฐาน-พงศาวดาร อาจมีถึง 2 พระองค์?

สมเด็จพระนเรศ (ครองราชย์ พ.ศ. 2133-48) ทรงพระประชวรสวรรคต ณ เมืองห้างหลวง (หาง) ขณะยกทัพหลวงไปตีกรุงอังวะใน จ.ศ. 967 ปีมะเส็งสัปตศก (พ.ศ. 2148) พระราเ...

โฉมใหม่! นิทรรศการ “เครื่องทอง” อยุธยา ณ พิพิธภัณฑสถาณแห่งชาติ เจ้าสามพระยา...

ย้อนกลับไปในช่วงระหว่าง พ.ศ. 2499-2501 กรมศิลปากรสำรวจขุดค้นเกาะเมืองพระนครศรีอยุธยา พบโบราณวัตถุที่เป็นเครื่องทองจากวัดมหาธาตุ วัดราชบูรณะ วัดพระราม ...

เปิดบันทึกประวัติศาสตร์ที่มา “พระปีย์” พระราชบุตรบุญธรรม ในสมเด็จพระนารายณ์?...

ความที่สมเด็จพระรามาธิบดี พระองค์ที่ 6 (สมเด็จพระนารายณ์) ไม่มีพระราชโอรสที่ประสูติแต่พระอัครมเหสีอย่างที่ตั้งพระทัยไว้ จึงทรงรับเอา “พระปีย์” บุตรขุน...

ใครสร้างภูเขาทองที่อยุธยา?

วัดภูเขาทอง ตำบลภูเขาทอง อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในพระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา พระราชพงศาวดาร ฉบับพระจักรพรรดิพงศ์ (จาด) ฉบั...
สมเด็จพระนารายณ์ ทรงช้าง ลพบุรี

ทุ่ง ป่า และภู เพื่อล่าโพนช้าง ของสมเด็จพระนารายณ์

ผู้เขียนเป็นชาวลพบุรี คุ้นเคยกับวัง วัด และโบราณสถานที่นั่น ตลอดจนทุ่งนา ป่าเขาของเมืองแห่งประวัติศาสตร์นี้ค่อนข้างมากมาแต่ครั้งเรียนหนังสือชั้นมัธยม ...

ลำดับเหตุการณ์การรัฐประหารพระนารายณ์

ลำดับเหตุการณ์การรัฐประหารพระนารายณ์ 23 กันยายน พ.ศ. 2228 คณะราชทูตไทยที่ไปฝรั่งเศสกลับถึงกรุงศรีอยุธยา คณะราชทูตของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 เดินทางเข้ามา...

เนเมียวสีหบดีเลือก วัดป่าฝ้าย-ปากน้ำประสบ ตั้งค่ายในสงครามเสียกรุงฯ ครั้งที่ 2

ครั้งสงครามคราวเสียกรุงศรีอยุธยา พ.ศ. 2310 พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ระบุว่า “วัดป่าฝ้าย ปากน้ำประสบ” เป็นที่ค่ายใหญ่ของเนเมียวสีหบดี แม่ทัพพม่าด้าน...

ตัวอักษร “ฮ. นกฮูก” มีใช้ครั้งแรกเมื่อใด?

อักษร ฮ พบหลักฐานการใช้ที่เก่าแก่ที่สุดอยู่ในสมุดไทยเรื่อง "นันโทปนันทสูตร" พระนิพนธ์ของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศ เมื่อ พ.ศ. 2279 ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบ...

จุดเริ่มต้นของอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา สู่มรดกโลกทางวัฒนธรรม

อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา ตั้งภายในเกาะเมืองอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีสำคัญอีกแห่งหนึ่งในประ...

“อยุธยา” ที่ไม่ใช่ราชธานี แต่เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย

เมื่อกรุงศรีอยุธยาเสียใน พ.ศ. 2310 แม้บ้านเมืองจะถูกทำลายเสียหาย, ชาวเมืองอพยพหนีภัยสงคราม หรือถูกกวาดต้อนไปเป็นเชลย และสิ้นฐานะ “ราชธานี” อายุกว่า 40...
จิตรกรรมเขียนบนแผ่นไม้คอสอง ศาลาการเปรียญ วัดท่าข้าม เขตบางขุนเทียน กรุงเทพฯ เขียนราวรัชกาลที่ 4 เป็นภาพศพลอยน้ำโดยมีทั้งอีกา และปลามากินซาก ซึ่งน่าจะเป็นภาพสะท้อนการระบาดของโรคห่าในสมัยต้นรัตนโกสินทร์ (น่าจะเป็นภาพชายชาวจีนเห็นได้จากการไว้เปียแบบแมนจู)

3 โรคระบาดสำคัญของสยาม อหิวาต์, ไข้ทรพิษ, กาฬโรค ทำแสบกับเราอย่างไรบ้าง

โรคระบาดใหญ่ของสยาม อหิวา, ไข้ทรพิษ, กาฬโรค ช่วง 42 ปี ป่วย 1.5 แสน ทั้งเจ้านาย, ชาวต่างชาติ, ขุนนาง เมื่อปี พ.ศ. 2505 นายแพทย์ประเมิน จันทวิมล รอ...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น