“เจแปนโมเดล” กับการปฏิวัติ 2475 : รูปแบบการสร้างชาติสมัย “คณะราษฎร”

หลังปฏิวัติ 2475 ในช่วงแรกเริ่มของระบอบประชาธิปไตยที่ยังไม่มั่นคง ขณะที่ชนชั้นนำในระบอบเก่ามีสายสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้นกับมหาอำนาจตะวันตก คณะราษฎรก็เลือกกระชับความสัมพันธ์กับ “ญี่ปุ่น” ที่ชนชั้นนำสยามไม่นิยม และระแวง มาคานอิทธิพล และการแทรกแซงของชาติตะวันตก

แล้วญี่ปุ่นก็ไม่ทำให้ผิดหวัง ไม่ว่าจะเป็น การล้มรัฐบาลอนุรักษนิยมของพระยามโนปกรณ์ฯ, เหตุการณ์กบฏบวรเดช ฯลฯ

แล้วคณะราษฎรใช้อะไรเป็นข้อเสนอ “ญี่ปุ่น” จึงให้ความร่วมมือ? อ่านได้ใน ศิลปวัฒนธรรม ฉบับกรกฎาคม 2563 เปิด “โมเดล” การสร้างชาติสมัยคณะราษฎร โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐพล ใจจริง

และบทความน่าสนใจอื่น

  • เมืองไทยในแผนที่วงไพบูลย์ร่วมแห่งมหาเอเชียบูรพา
  • ศึกแรกทหารเสือพรานไทย ในแผ่นดินลาว
  • แม่นมโกษาปานปลงศพที่ไหน ในแผนที่กรุงศรีอยุธยาของหมอแกมป์เฟอร์?
  • เครื่องราชอิสริยาภรณ์ยุโรป ในพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว