เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันอังคารที่ 28 มีนาคม พ.ศ.2566
หน้าแรก แท็ก โคราช

แท็ก: โคราช

ภาพถ่ายทางอากาศ โคราช อนุสาวรีย์ ย่าโม ด้านหน้า ประตูชัยชุมพล

ที่มา “นามสกุล” ชาว “โคราช” หลักฐานสำคัญบ่งชี้ภูมิประเทศถิ่นกำเนิด...

เดิมทีคนไทยไม่มี “นามสกุล” มีเพียงชื่อเรียกเท่านั้น นามสกุลเพิ่งมีใช้เมื่อสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์โปรดให้มีการตั้งนามสกุล และม...

“สุดบรรทัด-เจนจบทิศ” สู่ “ถนนมิตรภาพ” ช่วยย่นเวลาเดินทางกทม.-โคราชจาก 10 เหลือ 3...

ถนนมิตรภาพ แยกจากถนนพหลโยธินที่จังหวัดสระบุรี ผ่านดงพญาเย็น (ชื่อเดิมว่าดงพญาไฟ) ถึงโคราช เปิดเดินรถอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2500 ...

จังหวัดนครราชสีมา จังหวัดที่มีอำเภอมากที่สุดในประเทศไทย

เติม วิภาคย์พจนกิจ เขียนหนังสือ “ประวัติศาสตร์อีสาน” ตีพิมพ์ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2513 บันทึกเกี่ยวกับจังหวัดนครราชสีมา หรือ โคราช ว่า “ปัจจุบันจังหวัดนค...

“ไพร่” ลุ่มน้ำมูลตอนบน-หัวเมืองโคราช ตกทุกข์ได้ยาก เมื่อถูกเกณฑ์ไปรบใน “ศึกฮ่อ”...

แถบลุ่มแม่น้ำมูลตอนบนโดยเฉพาะเมืองนครราชสีมาและบริวาร มีความสำคัญมากในฐานะที่เป็นหัวเมืองสำคัญในดินแดนที่ราบสูงภาคอีสานของสยาม ไพร่ในแถบนี้จึงมักถูกเก...

“เมืองราด” ของพ่อขุนผาเมือง อยู่ที่ไหน? จากทัศนะของ “จิตร ภูมิศักดิ์”...

จิตร ภูมิศักดิ์ เป็นนักคิดด้านการเมือง นักประวัติศาสตร์ และนักภาษาศาสตร์-นิรุกติศาสตร์ นับเป็นนักปราชญ์/นักปฏิวัติทางความคิดและวิชาการคนสำคัญของประเทศ...

ประวัติศาสตร์ความลําเค็ญของชาวนา หัวเมืองที่ราบสูงโคราช

บทความนี้ เป็นการสรุปเนื้อหาจากบทความเรื่อง “ประวัติศาสตร์ความลำเค็ญของชาวนา บริเวณลุ่มน้ำมูลตอนบน” (ศิลปวัฒนธรรม ฉบับเดือนกันยายน 2540) ของ ชุมพล แนว...

นครราชสีมา เมืองพญามหานคร มาจากเมืองราด ของพ่อขุนผาเมือง ที่สูงเนิน ลำตะคอง

เมืองนครราชสีมา หรือเป็นที่รับรู้ในชื่อ “โคราช” วิถีของชาวโคราชโดยทั่วไปไกลจากวัฒนธรรมที่ราบสูง ได้แก่ กินข้าวเจ้า (ไม่ข้าวเหนียว), คลุกปลาร้า (ไม่ปลา...
พ่อค้าเกวียน โคราช บรรทุกสินค้า

“สำเนียงหลวงอยุธยา” มาจาก “สำเนียงเหน่อสุพรรณบุรี” รากเหง้าสำเนียงโคราช?...

รัฐสุพรรณภูมิ (สุพรรณบุรี) ใช้ภาษาไทย (สำเนียงเหน่อลาวลุ่มน้ำโขง) ในตระกูลไต-ไท เป็นภาษากลางทางการค้าทางบกกับทางดินแดนภายใน สถาปนาภาษาไทยและความเป็นไท...

ทำไม “โคราช” ตกรอบ ไม่ได้เป็น “ราชธานีสำรอง” สมัยรัชกาลที่ 4

ในสมัยรัชกาลที่ 4 นั้น เป็นช่วงเวลาที่มีการติดต่อกับชาติตะวันตก บ่อยครั้งที่มีเรื่องวุ่นวายกับพวกฝรั่งอยู่เสมอ พวกกงสุลต่างชาติที่เข้ามาตั้งอยู่ในกรุง...

คำขวัญเพื่อสุขอนามัย เมื่อเกิดโรคระบาด 100 กว่าปีก่อน ฝีมือ “ครูเหลี่ยม”

“อหิวาต์กำเริบ ล้างมือก่อนเปิบ ด้วยน้ำประปา ผักดิบผักสด งดเสียดีกว่า หากใช้น้ำท่า จงต้มเสียก่อน น้ำคลองต้องคั้น อาหารหวานคาว เมื่อกินทุกคราว เลือกแต่ร...

วิถีชีวิตชาวบุรีรัมย์ราวร้อยปีก่อน จากบันทึกครอบครัวชาวโคราชอพยพ

ในหนังสืออนุสรณ์งานฌาปนกิจศพ นางน้อย วัชรานันท์ (โรงพิมพ์สงเคราะห์หญิงปากเกร็ด, 2517) มีข้อมูลที่น่าสนใจเกี่ยวกับวิถีชีวิตของชาวอีสานในอดีต โดยเฉพาะที...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น