แท็ก: แบบเรียน
“ไทย” ในแบบเรียนประวัติศาสตร์กัมพูชา ตัวร้ายแย่งชิงดินแดน-นำความวิบัติสู่เขมร?
ประเด็นหนึ่งที่น่าหยิบยกมานําเสนอในที่นี้คือประเด็นอันเกี่ยวพันกับสํานึกร่วมทางประวัติศาสตร์ ซึ่งไทยและกัมพูชาอาจมีโลกทัศน์ในเรื่องนี้แตกต่างกัน และเร...
มอง “ลาว” ผ่านแบบเรียนกระทรวงศึกษาธิการ ที่นำไปสู่แนวคิด “บ้านพี่เมืองน้อง”...
“ชาตินิยม” คือความรู้สึกของผู้คนในประเทศนั้นๆ ที่รู้สึกว่าตนเองคือเจ้าของประเทศและมีพันธกิจรวมกันคือปกป้องรักษาเกียรติภูมิของประเทศ โดยกระบวนการสำคัญใ...
ตัวตนของ “มลายู” หรือประเทศมาเลเซีย ในแบบเรียนไทย
เรื่องราวเกี่ยวกับ "มาเลเซีย" ประเทศเพื่อนบ้านของไทย ปรากฏในหนังสือเรียนของการศึกษาขั้นพื้นฐานตั้งแต่ระดับประถมถึงระดับมัธยมศึกษา ในหลักสูตรการศึกษา 3...
อะแซหวุ่นกี้ ขอดูตัว เจ้าพระยาจักรี ใน “มานะ มานี ปิติ ชูใจ” แบบเรียนต้านคอมมิวน...
“ศึกอะแซหวุ่นกี้” หรือ “ศึกเมืองพิษณุโลก” เป็นสงครามในสมัยกรุงธนบุรี มีเหตุการณ์สำคัญคือ อะแซหวุ่นกี้ แม่ทัพพม่า ขอดูตัว เจ้าพระยาจักรี (รัชกาลที่ 1) ...
ผ่าหนังสือ “แบบเรียน” ยุคสุโขทัยถึงคณะราษฎร การศึกษาเจริญช้า เกี่ยวกับแบบเรียนไห...
แบบเรียนโบราณ
สมัยกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี มีตัวอักษรไทยเกิดขึ้น แต่ยังไม่มีแบบเรียนไทย ซึ่งสันนิษฐานว่า แบบเรียนไทยสมัยสุโขทัยคงเป็นแบบเรียนภาษาอื่น อ...
“หลัก 6 ประการ” กวีนิพนธ์รางวัลชนะเลิศ ทำไมไม่ผ่านเซ็นเซอร์เป็นแบบเรียน
กวีนิพนธ์เรื่อง “หลักหกประการ” ของ นายฉันท์ ขำวิไล เป็นวรรณกรรมที่แต่งขึ้นด้วยจุดมุ่งหมายที่จะสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับอุดมการณ์ประชาธิปไตย ผ่านข้อเสนอ...
กลุ่มชาติพันธุ์ในรัฐฉาน : เล่าขานจากแบบเรียนไทยใหญ่
ในหนังสือแบบเรียนของชาวไต หรือชาวไทยใหญ่ที่อาศัยอยู่ในรัฐฉาน ฉบับชั้นประถมปีที่ 3 ซึ่งตีพิมพ์ไว้เป็นอักษรไตเมื่อปี ค.ศ. ๑๙๖๒ และยังคงมีการใช้เรียนใช้ส...