แท็ก: เสด็จเตี่ย
ทำไมทหารเรือจึงเรียก “กรมหลวงชุมพรฯ” ว่า “เสด็จเตี่ย”
“เสด็จเตี่ย” เป็นคำที่เหล่าทหารเรือและผู้เคารพนับถือ พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ (พ.ศ. 2423-2466) เรียกขานพระองค์ แต่การเรียกพระองค์เช...
“ศาลเจ้าพ่อกรมหลวงชุมพร” ที่ขึ้นชื่อเรื่องความศักดิ์สิทธิ์ แห่งแรกตั้งอยู่ที่ไหน...
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ (19 ธันวาคม พ.ศ. 2423 ถึง 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2466) หรือ “กรมหลวงชุมพร” องค์บิดาของทหารเรือไทย เป็นพระบรมวงศาน...
วิเคราะห์สาเหตุการสิ้นพระชนม์ของกรมหลวงชุมพรฯ ผ่านมุมมองการแพทย์สมัยใหม่
หากใครสักคนตั้งคำถามว่า “ใครคือเสด็จเตี่ย” ผู้คนส่วนใหญ่คงจะทราบดีว่า เสด็จเตี่ย หมายถึง พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ (ในบทค...
19 พฤษภาคม : วันคล้ายวันสิ้นพระชนม์ “กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์”
พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ ทรงเป็นพระเจ้าลูกยาเธอลำดับที่ 28 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 พระมารดาค...
“อนุสรณ์สถานกรมหลวงชุมพร” แห่งแรกอยู่ที่ไหน?
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ หรือที่หลายคนนับถือพระองค์เป็น “เสด็จเตี่ย” เป็นพระบรมวงศานุวงศ์ที่มีอนุสรณ์สถานและศาลอยู่ทั่วประเทศ เนื่อ...
“หลวงปู่ศุข” พระเกจิแห่งวัดปากคลองมะขามเฒ่า ที่ “กรมหลวงชุมพรฯ” ศรัทธาและฝากตัวเ...
“กรมหลวงชุมพรฯ” หรือ “เสด็จเตี่ย” ผู้มีบทบาทวางรากฐานกองทัพเรือของไทย ทรงมีพระเมตตาและมีพระอุปนิสัยห้าวหาญ ทรงสนพระทัยเรื่องพุทธคุณ กระทั่งทรงมีโอกาสไ...
พระอุปนิสัย-พระจริยวัตรของ “กรมหลวงชุมพรฯ” ที่คนเคารพนับถือ และแง่ความศักดิ์สิทธ...
กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ เจ้านายที่ผู้คนนับถือในพระจริยวัตร และในแง่ความศักดิ์สิทธิ์
“---คนนับถือกรมหลวงชุมพรฯ เยอะ แต่คนไม่สนใจท่านในฐานะปุถุชน ค...
19 ธันวาคม 2423 วันประสูติ “เสด็จเตี่ย-กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์”
พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์ กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ทรงเป็นพระเจ้าลูกยาเธอลำดับที่ 28 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอ...
เปิดเหตุการณ์สุดท้าย ก่อน “กรมหลวงชุมพร” สิ้นพระชนม์ ประชวรแต่รักษาน้ำใจชาวบ้าน...
"กรมหลวงชุมพร" หรือพระนามเต็ม พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ ที่ชาวบ้านขานพระนามพระองค์ด้วยความเคารพรักว่า "เสด็จเตี่ย" แม้กระ...
“ตำนานตากัน สัตหีบ” : มุขปาฐะท้องถิ่นของชาติไทย
บทความชิ้นนี้ ผู้เขียนมีความประสงค์ที่จะแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างท้องถิ่นกับส่วนกลาง ในลักษณะที่ศูนย์กลางมีอำนาจอยู่เหนือกว่าท้องถิ่น และลักษณ...