แท็ก: เยาวราช
สำเพ็ง : กำเนิด ความสำคัญ และความผูกพันในร่มพระบารมีจักรีวงศ์
สำเพ็งเป็นนามของย่านชาวจีนสำคัญมีกำเนิดควบคู่มากับการตั้งกรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งผ่านการเวลาและการเปลี่ยนแปลงทั้งทางกายภาพ เศรษฐกิจ ตลอดจนด้านวัฒนธรรมอย่...
วันจ่ายช่วงตรุษจีน เมื่อก่อนเคยซื้อเป็ด-ไก่ตัวเป็นๆ หิ้วกลับบ้าน
"วันจ่าย" วันที่คนจีนแต่ละครอบครัวจะซื้อของสำหรับเซ่นไหว้ในเทศกาลตรุษจีน โดยเมื่อ 30-40 ปีก่อน เราซื้อเป็ดไก่เป็นๆ จากตลาดหิ้วกลับมาทำเชือดเองที่บ้าน ...
“เยาวราช” พิพิธภัณฑ์ (มี) ชีวิตจีนโพ้นทะเล
บทนำ
“เยาวราช” เป็นชื่อถนนสายหนึ่ง ในเขตสัมพันธวงศ์ หากฐานะที่แท้จริง เยาวราชคือชุมชนจีนโพ้นทะเลเก่าแก่ขนาดใหญ่ในเมืองไทย เยาวราชที่จะกล่าวถึงต่อไปใน...
ท่องบางกอก จิบน้ำชา-เริงนารี เปิดสภาพนครโสเภณีและกิจการดังกว่า 50 ปีก่อน
ไล่เรื่อยไปตามถนนเจริญกรุง ถนนสําหรับรถยนต์สายแรกของเมือง ก่อนที่จะมีบํารุงเมือง และเฟื่องนคร เดินผ่านปัจจุบันไปสู่อดีต ผ่านยุคของรถราง และรถเจ็ก (รถล...
ตำนาน “วัดพระยาไกร” กับ “พระพุทธรูปทองคํา” หนักกว่า 5 ตัน ก่อนถูกย้ายสู่วัดไตรมิ...
วัดจัดเป็นศาสนสถานด้านสถาปัตยกรรมที่สําคัญยิ่งในพุทธศาสนา ไม่ว่าจะสร้างขึ้นมาด้วยเหตุผลใดก็แล้วแต่ แต่ส่วนมากจะสร้างเพื่อเป็นบุญกิริยา เพราะว่าวัดเป็น...
ที่มาของพระราชดำรัส รัชกาลที่ 7 แก่ชาวจีน “ข้าพเจ้าเองก็มีเลือดจีนปนอยู่”...
ความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนมีความเป็นมายาวนาน สถาบันพระมหากษัตริย์ไทยมีส่วนสำคัญต่อสถานะของความสัมพันธ์นับตั้งแต่สมัยโบราณ มาจนถึงยุครัตนโกสินทร์ ซึ่งห...
ตามรอย “กาแฟเอี๊ยะแซ” ตำนานร้านอมตะในชุมชนจีน จุดป้อนอาชีพให้คนเพิ่งตั้งตัวสมัยก...
ถ้าถามถึงบรรยากาศการลิ้มรสชิมกาแฟในสมัยนี้ หลายคนน่าจะนึกถึง "คาเฟ่" ตกแต่งเก๋ไก๋ แต่ถ้าถามคนอายุมากกว่า 50 ปีขึ้นไป อาจได้คำบรรยายเป็นภาพอีกแบบกับบรร...
เถียน-เต็ง-หอย สามชาวจีนอพยพ สู่นายทุน-ขุนนางยุคแรกในสยาม กับภาพสะท้อนระบบอุปถัม...
ในสมัยรัตนโกสินทร์ ชาวจีนและพวกเชื้อสายดูจะเป็นภาพหนึ่งที่เด่นชัดของชนกลุ่มน้อยที่อพยพย้ายมาจากถิ่นฐานเดิม โดยกระบวนการดังกล่าวเริ่มต้นตั้งแต่สมัยพระบ...
“สำเพ็งและเยาวราช” อดีตย่านกลางคืนของกรุงเทพฯ
ย่านกลางคืนของเมืองเป็นย่านการค้าหรือเป็นพื้นที่สาธารณะกลางคืนของเมืองที่เป็นแหล่งรวมผู้คนให้เข้ามาแสวงหาสินค้าและบริการต่างๆ เพื่อความสำราญในยามราตรี...