แท็ก: เปอร์เซีย
ตามรอยลวดลาย เพสลีย์ (Paisley) ลายผ้ายอดนิยม จากเปอร์เซีย-แคชเมียร์
เพสลีย์ (Paisley) เป็นลวดลายผ้าที่มีลักษณะเหมือนหยดน้ำ พัฒนามาจากลวดลายผ้าเก่าแก่ในแถบแคชเมียร์และเปอร์เซีย ลวดลายดั้งเดิมนั้นมีชื่อว่า "Boteh" ในภาษา...
ทำไมเรียกลูกองุ่น (แห้ง) ว่า “ลูกเกด” ?
เราเรียก “ลูกองุ่น” ที่อบแห้งว่า “ลูกเกด” ทั้งที่เราเรียกต้นมันว่า “องุ่น” เรียกผล (องุ่น) สดว่า ลูกองุ่น แต่ทำไมเมื่อถูกทำให้แห้งจึงกลายเป็นลูกเกดไปเ...
รำมะนามาจากภาษาอาหรับ? – ศาสตราภิชาน ล้อม เพ็งแก้ว
เครื่องดนตรีไทยอย่าง “รำมะนา” เป็นกลองหน้าเดียวที่คนไทยน่าจะคุ้นเคยกันเป็นอย่างดี หรืออย่างน้อยก็ต้องรู้จักหรือเคยเห็น เพราะรำมะนาเป็นเครื่องดนตรีที่ค...
ชาวจีนในกองเรือเจิ้งเหอ เข้าใจผิดว่า “ยีราฟ” คือ “กิเลน” สัตว์ในตำนานของจีน...
"กิเลน" 1 ใน 4 สัตว์ ในเทพนิยายปรัมปราของจีน เชื่อกันว่ากิเลนจะปรากฏกายขึ้นเฉพาะในยามที่ผู้ปกครองมีศีลธรรม บ้านเมืองมีความสงบสุข และมั่งคั่ง ทว่า มันก...
“ผ้าขาวม้า” คำยืมใช้จาก “เปอร์เซีย” คนไทยใช้ “ผ้าเคียนพุง”
ปัญหาเรื่องคํา “ผ้าขาวม้า” ซึ่ง มร.เดอ ลาลูแบร์ บันทึก ไว้อย่างชัดเจน และคุณสันต์ ท. โกมลบุตร แปลจากต้นฉบับ ภาษาฝรั่งเศสโดยตรงไว้อย่างดีเยี่ยม จึงขอคั...
“ครุย” ร่องรอยภาษาและวัฒนธรรมเปอร์เซียในแผ่นดินสยาม
“ครุย” เสื้อครุย หรือชุดครุย ที่เราคุ้นเคยกันว่าเป็นยูนิฟอร์มสำหรับร่วมพิธีสำเร็จการศึกษาในระดับต่าง ๆ คือมรดกทางวัฒนธรรมและอิทธิพลทางภาษาจากดินแดน “เ...
เหตุใด “เอเชียกลาง” เต็มไปด้วยประเทศชื่อลงท้ายด้วย “-สถาน” ?
ภูมิภาค “เอเชียกลาง” ดินแดนตอนในของทวีปเอเชีย ไม่มีทางออกสู่มหาสมุทร หากกางแผนที่ออกดูจะพบว่า เอเชียกลาง เป็นดินแดนปิดที่อยู่ระหว่างทวีปยุโรปกับทวีปเอ...
ราชทูตกษัตริย์สุลัยมานบันทึกว่า ชาวเปอร์เซีย (อิหร่าน) ช่วย พระนารายณ์ ยึดบัลลัง...
"สำเภากษัตริย์สุลัยมาน" เป็นบันทึกโดยอาลักษณ์ของคณะราชทูตเปอร์เซียของกษัตริย์สุลัยมานแห่งราชวงศ์เศาะฟะวียฮฺที่เดินทางเข้ามายัง "กรุงศรีอยุธยา" ในสมัย ...
อาหรับปะทะเปอร์เซีย! การพิชิตจักรวรรดิแซสซาเนียนโดยรัฐอิสลาม
รัฐอิสลาม รัฐแรกของโลกเกิดขึ้นช่วง ค.ศ. 622-632 ภายใต้การนำของ นบีมูฮัมหมัด (Muhammad ibn Abdullah) ผู้เป็นศาสดา มีพื้นที่ครอบคลุมบริเวณคาบสมุทรอาหรับ...
“ภาษาเปอร์เซีย” เหตุใดจึงมาปรากฏในศิลาจารึก “พ่อขุนราม” ?
“เบื้องตีนนอนเมืองสุโขทัยนี้ มีตลาดปสาน...” เป็นประโยคหนึ่งบนศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหง ปรากฏอยู่บนบรรทัดแรกของด้านที่ 3 ซึ่งมีผู้อธิบายว่า คำว่า “ปสา...
“ความรัก” ฉบับ “เมโสโปเตเมีย” คืนเมียได้ ถ้าเสียพรหมจรรย์ก่อนแต่งงาน!...
เมโสโปเตเมีย หนึ่งในอารยธรรมที่เก่าแก่ที่สุดของโลกซึ่งมีพื้นที่อยู่บริเวณแม่น้ำไทกริส-ยูเฟรติส หรือที่ปัจจุบันก็คือบริเวณประเทศอิรัก ตุรกี และซีเรีย เ...
“กุหลาบ” คำยืมจากภาษาเปอร์เซีย ที่ดั้งเดิมไม่ได้แปลว่า “กุหลาบ” (?)
คำในภาษาไทยมีคำยืมจากภาษาต่างประเทศอยู่หลายคำ คำจากภาษาเปอร์เซียก็เป็นอีกแหล่งหนึ่งที่คนไทยหยิบยืมเอามาใช้แสดงถึงความสัมพันธ์ และการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธ...