เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพฤหัสที่ 5 ตุลาคม พ.ศ.2566
หน้าแรก แท็ก เชียงใหม่

แท็ก: เชียงใหม่

หลัง พ.ศ. 2400 คนล้านนาเรียกตัวเองว่า “คนเมือง” แต่ก่อนหน้านั้นทำไมเรียกว่า “ลาว...

ภายหลังจาก พ.ศ. 2400 (คน) ล้านนา เรียกตัวเองว่า “คนเมือง” แต่ก่อนหน้านั้นทำไมถึงเรียกว่า “ลาว” เมืองเชียงใหม่อยู่ในฐานะเมืองประเทศราชของกรุงสยาม ที...

“ทรัฟเฟิล” ราชันเห็ดที่แพงกว่าทองคำ จากอิตาลีสู่การค้นพบที่ “เชียงใหม่”

ทรัฟเฟิล (Truffle) คือเห็ดราไร้พิษชนิดหนึ่ง อยู่ในกลุ่ม “ฟังไจ” (Fungi) หรือสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่ทั้งพืชและสัตว์ ทรัฟเฟิลนั้นมีรสจัดและมีกลิ่นเฉพาะตัวอ...

สุจิตต์ วงษ์เทศ : ล้านนา

ล้านนา หมายถึง ดินแดนกว้างใหญ่ไพศาลบริเวณที่เป็นภาคเหนือของประเทศไทยทุกวันนี้ โดยมีเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางมาแต่สมัยแรกๆ และเป็นชื่อที่มีอยู่คู่กัน...

ที่ปรึกษาฝรั่งเห็นสภาพเรือนจำสยามถึงกับ “สังเวช” ชี้ คอกหมูในยุโรปยังสภาพดีกว่า...

ปีแอร์ โอร์ต (Pierre Orts) ผู้ช่วยที่ปรึกษากฎหมายชาวเบลเยียมกล่าวถึงคุกโบราณในเมืองเชียงใหม่เมื่อปี พ.ศ. 2440 ก่อนที่จะมีการก่อสร้าง เรือนจำ มณฑลพายัพ...

องคชาตใหญ่! หลักฐานมัดตัว ในคดีชู้สาวสุดฉาวที่เชียงใหม่ เมื่อ 600 กว่าปีก่อน

เอกสารล้านนาโบราณที่มีชื่อว่า "คลองตัดคำพระพุทธโฆสาจารย์" อันเป็นบันทึกการตัดสินคดีความของล้านนาโบราณ คดีหนึ่งที่มีความน่าสนใจคือ คดี "นาบสู่เมียกัน" ...

โซเฟีย แบรดเลย์ ลูกสาว “หมอแบรดเลย์” กับวิถีชีวิต-ภารกิจในเชียงใหม่ที่ไม่มีใครพู...

ศิลปวัฒนธรรม ฉบับที่ 10 เดือนสิงหาคม 2533 เผยแพร่บทความชื่อ “ครั้งแรกเก่าที่สุดในประเทศไทย” ซึ่งคุณอนันต์ เลาหะพันธุ เป็นผู้เขียน บทความนี้เป็นเรื่...

เจ้านางสุคันธา ณ เชียงใหม่ สายใยรักสองราชสำนัก เชียงใหม่-เชียงตุง “รุ่นสุดท้าย”...

วันที่ 15 มกราคม 2546 เจ้านางสุคันธา ณ เชียงใหม่ พระธิดาเจ้าหอคำเชียงตุง เจ้าฟ้าก้อนแก้นอินทรแถลง ผู้เป็นชายาของเจ้าอินทนนท์ ราชบุตรของเจ้าแก้วนวรัฐ เ...

ความสัมพันธ์ “ชาวจีน” กับผู้ปกครองเชียงใหม่ ผ่านความเชื่อและพิธีกรรมในศาลเจ้าจีน...

บทความนี้จะเน้นความสําคัญของชาวจีนที่คุมเศรษฐกิจของเชียงใหม่ และสาเหตุการตั้งศาลเจ้าจีนกับผู้ปกครอง จะอยู่ในส่วนที่เกี่ยวเชื่อมโยงกับความเชื่อ พิธีกรร...

โตยมาหมู่สู เฮาจะปาไปผ่อฝรั่ง : แรกเมื่อคณะมิชชันนารี “ชนผิวขาว” ถึงเชียงใหม่ สม...

ชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในสยามนับตั้งแต่สมัยอยุธยาเรื่อยมา มักบันทึกถึงสิ่งที่พบเห็นต่าง ๆ ในดินแดนแถบนี้ไว้ หนึ่งในนั้นคือ ศ. ดร. แมคกิลวารี มิชชั...

9 พฤศจิกายน 2477 ครูบาศรีวิชัย “นั่งหนัก” ในการสร้างถนนขึ้น “ดอยสุเทพ”

ครูบาศรีวิชัย "นั่งหนัก" ในการสร้างถนนขึ้นดอยสุเทพ ซึ่งปัจจุบันส่วนหนึ่งของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1004 (ต่อเชื่อมจากเขตเทศบาลคนครเชียงใหม่ กับเทศบาลตำบ...

“เจ้าดารารัศมี” นำประเพณีลอยกระทงไปเผยแพร่ที่เชียงใหม่?

ประเพณีลอยกระทง เชื่อต่อๆ กันมานานว่าเป็นประเพณีที่มีมาตั้งแต่สมัยสุโขทัย แต่หลักฐานที่จะใช้เชื่อมโยงกลับไปถึงสมัยนั้นกลับเบาบางไม่น่าเชื่อถือ อย่า...

“ผีเจ้านาย” กับบทบาททางสังคม-ความเชื่อชาวบ้านทางเหนือ ทำไมอยู่คู่ศาสนาได้ยาวนาน?...

ความเชื่อเรื่องผีอยู่คู่กับมนุษย์มาตั้งแต่โบราณ ผีก็มีหลากหลายรูปแบบเช่นเดียวกับความเชื่อของกลุ่มคนที่มีมากมายหลากหลาย ด้วยความเชื่อพื้นฐานนี้นำมาสู่ก...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น