เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันเสาร์ที่ 30 กันยายน พ.ศ.2566
หน้าแรก แท็ก เกษตรกร

แท็ก: เกษตรกร

ชาวนา ควาย ไถ่นา

ภาษีนา-สวน-ไร่ สมัยกรุงธนบุรี-ต้นกรุงเทพฯ เก็บกันอย่างไร

ระบบ "ภาษี" ที่รัฐบาลเก็บจากประชาชนในสมัยกรุงธนบุรี ถึงต้นกรุงรัตนโกสินทร์ (พ.ศ. 2310-97) ส่วนมากมี ผลกระทบต่อการผลิตทางเกษตรของไพร่ โดยอาจกล่าวเป็นลํ...

“เกษตรแฟร์” ครั้งแรก ปี 2491 มากันตั้งแต่ตี 3!!!

เกษตรแฟร์ เป็นงานออกร้านประจำปีที่หลายคนรอคอย จัดขึ้นในเดือนกุมภาพันธ์ของทุกปี ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน ในงานแน่นขนัดไปด้วยผู้คนจากทั่วทุกสารท...

รู้จัก “ไก่” สายพันธุ์ ตะเภาทอง ไก่มงคลที่คนไทยเชื้อสายจีนนิยมบริโภค...

ไก่เป็นสัตว์ปีก มีญาติที่ใกล้ชิดกันคือนก เดิมทีหากต้องการนำไก่มาเป็นอาหาร ก็ออกไปล่า โดยมีวิธีการหลายอย่าง ที่นิยมมากคือการต่อไก่ ระยะหลังไก่มีความสำค...

คุ-แอ่ว เครื่องจักสานขนาดใหญ่ ของเกษตรกรล้านนา

เครื่องจักสานเป็นหัตถกรรมเก่าแก่อย่างหนึ่ง เชื่อกันว่า มนุษย์รู้จักทำเครื่องจักสานมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เพราะได้พบร่องรอยของเครื่องจักสานบนภา...

ทำไมเครื่องจักรกลการเกษตรที่ทดลองใช้ครั้งแรกสมัย ร. 5 ไม่เวิร์ค ?

การเปิดประเทศภายหลังการทำสนธิสัญญาเบาริ่ง ในสมัยรัชกาลที่ 4 ส่งผลให้การส่งออกสินค้าทางการเกษตรของไทยเพิ่มขึ้นมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในแง่การส่งออกข้าว เ...

ระหัด เครื่องวิดน้ำภูมิปัญญาพื้นบ้าน

ในอดีตทั้งการประกอบอาชีพ และการตั้งถิ่นของคนไทยมักจะยึดเส้นทางของแม่น้ำลำคลองเป็นสำคัญ เพราะต้องการใช้ในการอุปโภคและบริโภค ต้องการใช้ลำน้ำเป็นเส้นทางใ...

พ.ศ. 2454 เมื่อลอนดอนคิดปูถนนด้วยยาง ชาวสวนยางเตรียมบุกตลาด

เมืองไทยสมัยหนึ่ง คนรุ่นย่ายายมักจะเลือกบ้านอยู่ในซอย ที่ไกลจากถนนสายหลักมากกว่า เพื่อเลี่ยงรถยนต์หนวกหูเสียงดังที่วิ่งไปมาทั้งวัน ในกรุงลอนดอน ประเทศ...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น