แท็ก: อีสาน
“หนองแวง” ชื่อบ้านนามเมืองสุดฮิตในภาคอีสาน มาจากไหน?
“หนองแวง” เป็นคำยอดนิยมคำหนึ่งที่ใช้เป็นชื่อของหมู่บ้าน, ตำบล ใน “ภาคอีสาน” ของไทย เมื่อมี โรงเรียน, วัด, สถานีตำรวจภูธร, องค์การบริหารส่วนตำบล, เทศบา...
ทำไมจังหวัดอุบลราชธานี ลงท้ายด้วย “ราชธานี” ทั้งที่ไม่ใช่เมืองหลวง
“อุบลราชธานี” เป็นจังหวัดเดียวในบรรดาจังหวัดต่างๆ ของประเทศไทย ที่ลงท้ายว่า “ราชธานี” ซึ่งแปลว่าเมืองหลวง แม้จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ธนบุรี และกรุงเทพ...
“ขายข้าวเขียว” ย้อนดูวิถีชีวิตชาวนาภาคอีสานยุคสงครามเย็น
“ขายข้าวเขียว” ผู้ที่ไม่คุ้นกับการปลูกข้าวทำนาอาจแปลกใจว่าคืออะไร เพราะปกติแล้วการขายข้าวมักจะขายในช่วงที่รวงข้าวเป็นสีเหลืองทอง แต่สำหรับชาว อีสาน บา...
“พระครูเอกุตตรสตาธิคุณ” ราชทินนามเอกลักษณ์ของพระสงฆ์จังหวัดร้อยเอ็ด
จังหวัดร้อยเอ็ด เป็นจังหวัดที่มีชื่อเป็นเอกลักษณ์ สามารถเขียนเป็นตัวเลขได้ คือ 101 นั่นเอง ราชทินนามของพระสงฆ์จังหวัดร้อยเอ็ดที่ได้รับพระราชทานตั้งสมณ...
กระรอกด่อน ตำนานและความเชื่อของภาคอีสาน
"กระรอกด่อน" คือกระรอกสีขาวเผือก ดวงตาสีแดง คำว่า “ด่อน” หมายถึง ขาวหรือเผือก, ขาวแดง (หอสมุดแห่งชาติ. 2554 : 144) แต่มีสีที่แตกต่างออกไปผิดจากสีขาวธร...
หลักฐานชี้ ชาวอีสานโบราณแห่ง “บ้านเชียง” กินดีอยู่ดี รักสงบ
นักโบราณคดีเผยผลงานวิจัยการศึกษาโครงกระดูกและเครื่องมือโลหะแห่ง "บ้านเชียง" แหล่งมรดกโลกซึ่งถือเป็นหนึ่งในพื้นที่ตั้งถิ่นฐานที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในย...
สภาพเมืองบุรีรัมย์เมื่อ 2477 จากปากส.ส.บุรีรัมย์คนแรก เมืองเก่าท่ามกลางขอม
บุรีรัมย์ ปัจจุบันเป็นจังหวัดใหญ่แห่งหนึ่งในภาคอีสาน มีพัฒนาการทุกมิติ โดยเฉพาะเชิงเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว
แต่ “บุรีรัมย์” ในอดีต เมื่อเกือบร้อยป...
ปลาร้าบอง อาหารอีสานยอดนิยม กับความหมายที่แปรเปลี่ยน?
เมื่อพูดถึง “ปลาร้าบอง” ดูจะเข้าใจตรงกันหมดนะครับ ว่าคืออันเดียวกับ “แจ่วบอง” มันเป็นอาหารอีสาน ทำโดยเอาปลาร้ามาสับรวมกับเครื่องสมุนไพรสดจนเข้ากันดี ร...
ไก่ย่างไม้มะดัน ห้วยทับทัน ศรีสะเกษ เริ่มต้นที่สถานีรถไฟ ทำสืบทอดมาเกือบ 80 ปี
"ทาง" ได้นำความเปลี่ยนแปลงมาสู่ชุมชน ไม่ว่าจะเป็น ทางน้ำ ทางถนน รวมทั้งทางอากาศ ทางรถไฟ ก่อให้เกิดอาชีพของคนอำเภอห้วยทับทัน จังหวัดศรีสะเกษ นั่นคือ ไก...
ประเพณีอีสาน “แตกบ้าน” ไม่ใช่ “บ้านแตก” พ่อแม่พี่น้องยังปรองดองกันดีอยู่
รู้จัก "ประเพณีแตกบ้าน" ของชาวอีสาน เป็นการ "แตกบ้าน" ที่ไม่ใช่ "บ้านแตก" ทำเพื่อแก้เคล็ดให้ทุกคนอยู่ดีมีสุข
นิยามคำว่า “แตกบ้าน” หมายถึง การอพยพโย...
สืบที่มา “ส้มตำ” เมนูยอดฮิตเข้ากรุงเทพฯ เมื่อไหร่ คนกรุงสมัยก่อนกินส้มตำที่ไหน...
ส้มตำ เป็นสุดยอดอาหารโปรดของคนไทย โดยเฉพาะบรรดาคุณสุภาพสตรี ส้มตำเป็นอาหารที่มีรสชาติปานกลางประกอบด้วย เผ็ด เค็ม หวาน เปรี้ยว ครบทุกรส เมื่อรับประทานค...
ยุคนี้คนจน “กินข้าวกับเกลือ” แต่ 2-3 พันปีก่อน “เกลือ” สำคัญ-มีค่ากว่าที่คิด
เกลือ ใช้กินกับข้าว เลยมีคำว่า “กินข้าวกับเกลือ” เป็นคำพูดในชีวิตประจำวัน บอกให้รู้ว่ายากจนข้นแค้น จนไม่มีอะไรจะกินกับข้าว ฉะนั้น เกลือ จึงเป็นสัญลักษ...