แท็ก: อีสาน
หมอธรรม : กิตติศัพท์ที่ผีต้องขยาด! ในชุมชนอีสาน
หมอธรรม : กิตติศัพท์ที่ผีต้องขยาด! ในชุมชนอีสาน
สังคมอีสานมี หมอพื้นบ้าน ซึ่งในหลายพื้นที่มีแยกย่อยประเภทลงไป เช่น "หมอธรรม" ในชุมชนอยู่มากมาย คุณสมบ...
พิธีศพของชาวอีสานในอดีต วิธีรักษาศพ-เก็บกระดูก เขาทำกันอย่างไร
จากความทรงจำของ ดร. ก่อ สวัสดิ์พาณิชย์* ได้อธิบาย "พิธีศพ" ของชาวอีสานในอดีตผ่านหนังสือ "อีสานเมื่อวันวาน" (จิรัชการพิมพ์, 2546) โดยอธิบาย "พิธีศพ" ไว...
เวียงจันฝั่งไทย เชียงใหม่ภาคอีสาน
นครเวียงจัน เป็นเมืองหลวงของ สปป.ลาว นครเชียงใหม่ เคยเป็นเมืองหลวงของแคว้นล้านนา ปัจจุบันเป็นเมืองหลักและจังหวัดสำคัญภาคเหนือของไทย แต่ทั้งสองล้านสองเ...
“งันเฮือนดี” งานศพคนอีสานที่ไม่โศกเศร้า จัดเต็มความม่วนกุ๊บ พร้อมสีสันแสนสดใส ไม...
เมื่อพูดถึง “งานศพ” หลายคนคงนึกถึงบรรยากาศอันอึมขรึม โศกเศร้า เต็มไปด้วยผู้คนในชุดดำ ทว่าหากย้อนไปในแถบอีสานสมัยก่อน “งานศพ” หรือที่เรียกว่า “งันเฮือน...
“หมาน้อย” ไม่ใช่ “หมาตัวเล็ก” แต่เป็นจานเด็ดของอิสาน
“หมาน้อย” ไม่ใช่ “หมาตัวเล็ก” แต่เป็นจานเด็ดของอิสาน เรียกกันว่า “ลาบหมาน้อย”
อิสาน มีวัฒนธรรมการกินอาหารที่แปลกมาแต่อดีต กล่าวคือ ชาวอิสานสามารถแสวง...
“หนองแวง” ชื่อบ้านนามเมืองสุดฮิตในภาคอีสาน มาจากไหน?
“หนองแวง” เป็นคำยอดนิยมคำหนึ่งที่ใช้เป็นชื่อของหมู่บ้าน, ตำบล ใน “ภาคอีสาน” ของไทย เมื่อมี โรงเรียน, วัด, สถานีตำรวจภูธร, องค์การบริหารส่วนตำบล, เทศบา...
ทำไมจังหวัดอุบลราชธานี ลงท้ายด้วย “ราชธานี” ทั้งที่ไม่ใช่เมืองหลวง
“อุบลราชธานี” เป็นจังหวัดเดียวในบรรดาจังหวัดต่างๆ ของประเทศไทย ที่ลงท้ายว่า “ราชธานี” ซึ่งแปลว่าเมืองหลวง แม้จังหวัดพระนครศรีอยุธยา, ธนบุรี และกรุงเทพ...
“ขายข้าวเขียว” ย้อนดูวิถีชีวิตชาวนาภาคอีสานยุคสงครามเย็น
“ขายข้าวเขียว” ผู้ที่ไม่คุ้นกับการปลูกข้าวทำนาอาจแปลกใจว่าคืออะไร เพราะปกติแล้วการขายข้าวมักจะขายในช่วงที่รวงข้าวเป็นสีเหลืองทอง แต่สำหรับชาว อีสาน บา...
“พระครูเอกุตตรสตาธิคุณ” ราชทินนามเอกลักษณ์ของพระสงฆ์จังหวัดร้อยเอ็ด
จังหวัดร้อยเอ็ด เป็นจังหวัดที่มีชื่อเป็นเอกลักษณ์ สามารถเขียนเป็นตัวเลขได้ คือ 101 นั่นเอง ราชทินนามของพระสงฆ์จังหวัดร้อยเอ็ดที่ได้รับพระราชทานตั้งสมณ...
กระรอกด่อน ตำนานและความเชื่อของภาคอีสาน
"กระรอกด่อน" คือกระรอกสีขาวเผือก ดวงตาสีแดง คำว่า “ด่อน” หมายถึง ขาวหรือเผือก, ขาวแดง (หอสมุดแห่งชาติ. 2554 : 144) แต่มีสีที่แตกต่างออกไปผิดจากสีขาวธร...
หลักฐานชี้ ชาวอีสานโบราณแห่ง “บ้านเชียง” กินดีอยู่ดี รักสงบ
นักโบราณคดีเผยผลงานวิจัยการศึกษาโครงกระดูกและเครื่องมือโลหะแห่ง "บ้านเชียง" แหล่งมรดกโลกซึ่งถือเป็นหนึ่งในพื้นที่ตั้งถิ่นฐานที่สำคัญที่สุดแห่งหนึ่งในย...
“หลวงพ่อขี้หอม” จากพระผู้ใหญ่หนีราชภัย สู่ผู้นำการปฏิสังขรณ์พระธาตุพนม
หลวงพ่อขี้หอม คือ “เจ้าพ่อราชครูหลวงโพนสะเม็ก” เป็นชื่อที่ปรากฏบนเหรียญที่ระลึกในงานพระราชพิธีบรรจุพระอุรังคธาตุ ณ วัดพระธาตุพนมวรมหาวิหาร อำเภอธาตุพน...