แท็ก: อาหาร
เบียร์สงฆ์โบราณคืนชีพ หลังบาทหลวงเบลเยียมถอดสูตรผลิตเบียร์เก่าแก่กว่า 220 ปีได้
สำนักสงฆ์ในยุโรปหลายสายมีชื่อเสียงเรื่องการผลิตเบียร์มายาวนาน ประวัติศาสตร์การผลิตเบียร์ในหมู่นักบวชทางศาสนาดำเนินต่อเนื่องในท้องถิ่นอย่างเข้มข้น ในเบ...
ปาเลอกัวซ์ ฝรั่งที่กินทุเรียนได้ กินทุเรียนเป็น
สังฆราชปาเลอกัวซ์ (พ.ศ. 2348-2405) นักบวชชาวฝรั่งเศสที่เข้ามาเมืองไทย ในรัชสมัยรัชกาลที่ 4 โดยพำนักอยู่ในเมืองไทยยาวนาถึง 24 ปี (พ.ศ. 2372-2396) ทำให้...
“แกงหนางไหลบัว” แปลงสำรับสำหรับคนชอบหนาง แล้ว “หนาง” คืออะไร-มาจากไหน?...
ผมเคยกิน “ต้มกะทิหนางหมู” ครั้งแรก เมื่อไปร่วมงานศพเพื่อนที่เมืองพัทลุง พ.ศ. ๒๕๔๙ ชิ้นหนางหมูในน้ำแกงกะทิสีอ่อนซึ่งไม่ข้นมากนักนั้นหนึบนุ่ม มีกลิ่นพริ...
ความเป็นมาของ “ตะเกียบ” และปรัชญา-ตำนานในบทสนทนาเล่าปี่-โจโฉ
เมื่อยี่สิบปีก่อน ผมยังพบคนไทยที่ใช้ตะเกียบคีบอาหารไม่เป็นอยู่บ่อย ๆ แต่ปัจจุบันรู้สึกจะหา (คนที่ใช้ตะเกียบไม่เป็น) ได้ยากขึ้น ปัจจุบันอาหารประเภทก๋วย...
“ก๋วยเตี๋ยว” สร้างชาติ และทางออกวิกฤตเศรษฐกิจฉบับจอมพล ป. พิบูลสงคราม
ทั่วแห่งหนในไทย มองไปไหนก็เห็นร้านขายอาหารได้เสมอ และในละแวกที่มีจำหน่ายอาหาร เมนูที่พบเห็นบ่อยไม่แพ้จานอื่นย่อมเป็น ก๋วยเตี๋ยว อาหารที่เชื่อกันว่ามีใ...
บะหมี่สำเร็จรูป สินค้าที่เกิดขึ้นเพราะขาดแคลนอาหารหลังสงคราม
เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง ญี่ปุ่นเผชิญปัญหาการขาดแคลนอาหาร โมโมฟุกะ อันโดะ จึงคิดถึงการผลิตอาหารสำหรับมวลชน สำหรับคนส่วนใหญ่ ปี 2491 อันโดะตั้งบ...
ความเป็นมาของคำว่า “รับประทาน” มาจากไหน? ไฉน “ผู้ดี” ละทิ้งคำว่า กิน
ความนำ
ทุกชาติทุกภาษาทั่วโลกรู้จักคำว่ากิน และมีศัพท์เฉพาะเรียกกริยานั้น เช่น อังกฤษว่า Eat ฝรั่งเศสว่า Manger เวียดนามว่าอัง จีนว่าชื่อะ มอญว่าเจีย ...
ขนมปัง-ปลาร้า ของกินพระราชทานสมัยกรุงศรีอยุธยา ทูตฝรั่งรีวิวไว้ว่าอย่างไร?
ขนมปัง, ปลาร้า และอาหารแห้ง คือ “ของกินพระราชทาน" ที่ราชสำนักอยุธยาจัดหาให้แก่ชาวต่างสำหรับเป็นเสบียงระหว่างเดินทาง แล้วฝรั่งที่ได้รับของพระราชทานเหล่...
“น้ำมันพืช” ขวดพลาสติกบุกครัวคนไทยตั้งแต่เมื่อไหร่?
ในสมัยก่อนน้ำมันที่ใช้ในการทำอาหารประเภทผัดๆ ทอดๆ มักจะเป็นน้ำมันหมูเป็นหลัก น้ำมันพืชที่ใช้ก็มีบ้าง แต่ก็ยังไม่เป็นที่นิยมากนัก เพราะน้ำมันหมูเป็นผลพ...
ไทย-เอเชียได้กินพริกเพราะ “ปีเตอร์ มาร์ทิล” บุคคลปริศนาในประวัติศาสตร์...
ปฏิเสธได้ยากว่ารสเผ็ดจากพริกเป็นรสชาติที่ขาดไม่ได้สำหรับการรับประทานอาหารของคนหลายเชื้อชาติ โดยเฉพาะสำหรับไทย แต่หากถามว่าคนไทยเริ่มกินพริกได้อย่างไร ...
สำรวจ “วิถีชีวิต-วัฒนธรรมพม่า” ผ่านอาหารการกิน ต่างหรือเหมือนกับไทยตรงไหน
...อาหารการกินของคนแต่ละสังคมย่อมมีความแตกต่างกัน และแฝงด้วยวัฒนธรรมการบริโภคที่เป็นเอกลักษณ์ของสังคมนั้นๆ ประเทศพม่าก็เช่นกันมีอาหารการกินที่เป็นเอกล...
จาก “เบนโตะ” ของญี่ปุ่น ถึง “ปิ่นโต” ของไทยอาหารกับการเดินทาง...
คำศัพท์ที่ไทยเรานำเข้ามาจากญี่ปุ่นนอกเหนือจากสุกียากิ คาราโอเกะ หรือบรรดายี่ห้อสินค้าต่างๆ อย่างฮอนด้า โตโยต้า แล้ว ยังมีคำญี่ปุ่นที่นำเข้ามานานจนฟังด...