แท็ก: อาณานิคม
“ร้อนราวนรก” สภาพอากาศอินเดีย ที่คนของอาณานิคมอังกฤษต้องเผชิญ
ประเด็นเรื่องการล่าอาณานิคม ที่มีการนำเสนออยู่บ่อยครั้ง มักเป็นประเด็นหลักๆ เรื่องการเมือง เศรษฐกิจ แต่ในเรื่องต่างๆ เหล่านั้นมีผู้คนเป็นตัวขับเคลื่อน...
“แบ่งแยกแล้วปกครอง” นโยบาย “เขมือบ” อินเดียของจักรวรรดิอังกฤษ
“แบ่งแยกแล้วปกครอง” นโยบาย “เขมือบ” อินเดียของจักรวรรดิอังกฤษ
การครอบครอง “อินเดีย” ของ “จักรวรรดิอังกฤษ” ถือเป็นความสำเร็จอันยิ่งใหญ่ของลัทธิจักรวรร...
5 เมษายน 1614: “โพคาฮอนทัส” ลูกสาวผู้นำชนพื้นเมืองอเมริกัน แต่งงานกับหนุ่มอังกฤษ...
โพคาฮอนทัส (Pocahontas) หรือ มาโตอาคา (Matoaka) เป็นที่รู้จักดีจากความเป็นมิตรที่เธอมีต่อชาวอังกฤษ ที่เข้าไปตั้งอาณานิคมในช่วงต้นศตวรรษที่ 17 เธอเป็นล...
“เซนต์คิตส์และเนวิส” 1 ใน 10 ประเทศเล็กสุดในโลก ที่ “คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส” ตั้งช...
“เซนต์คิตส์และเนวิส” หรือชื่อทางการคือ สหพันธรัฐเซนต์คิตส์และเนวิส มีจุดเด่นอยู่ที่ธรรมชาติอันสวยงามและความเงียบสงบ หากจะมองเซนต์คิตส์และเนวิสในแง่ที่...
“ทหารกูรข่า” นักรบที่แข็งแกร่งที่สุดในโลก แม้แต่กองทัพอังกฤษยังต้องยกนิ้วให้
“ทหารกูรข่า” ขึ้นชื่อว่าเป็นนักรบที่ดุดัน โหด ห้าวหาญ และแข็งแกร่งที่สุดในโลก มีทักษะในการรบเยี่ยมยอด ทั้งยังจงรักภักดี คุณสมบัติเหล่านี้ทำให้อังกฤษให...
เจ้าสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์ กษัตริย์กัมพูชาผู้ตรอมพระทัยสวรรคตเพราะเสียดินแดนให้ไทย
เจ้าสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์ เป็น กษัตริย์กัมพูชา ในสมัยที่ยังเป็นอาณานิคมของฝรั่งเศส ครองราชย์ตั้งแต่ 9 สิงหาคม ค.ศ. 1927 (พ.ศ. 2470) - 24 เมษายน ค.ศ. 194...
สนมคนโปรดของกษัตริย์กัมพูชา สาวงามในสายตานักสำรวจตะวันตกยุคศตวรรษที่ 19
อ็องรี มูโอต์ บรรยายถึง สนมคนโปรด ของ "กษัตริย์กัมพูชา" สาวงามในสายตานักสำรวจตะวันตกยุคศตวรรษที่ 19
อ็องรี มูโอต์เป็นนักสำรวจและนักโบราณคดีชาวฝรั่ง...
รัชกาลที่ 5 เสด็จประพาสอาณานิคมตะวันตก สิงคโปร์ ปัตตาเวีย พม่า อินเดีย
รัชกาลที่ 5 เสด็จประพาสอาณานิคมตะวันตก สิงคโปร์ พม่า อินเดีย
การขยายตัวของชาติตะวันตกในเอเชีย จากรูปแบบของ "การค้า" จนถึงการตั้ง "อาณานิคม" ซึ่งประเด...
ย้อนการต่อสู้เพื่อเอกราชของ “มาเลเซีย” จากสมัยอาณานิคม ถึงสภาพหลังได้เอกราช...
ย้อนการต่อสู้เพื่อเอกราชของ "มาเลเซีย" จากสมัย อาณานิคม ถึงสภาพหลังได้เอกราชจาก "อังกฤษ"
มลายูก่อนการเข้ามาของชาติอาณานิคม
ในช่วง 100 ปีก่อนคริสตกาล...
จาก “อินเดีย” สู่ “ภารัต” ต้นรากอันหลากหลายของชื่อประเทศอินเดีย
สำนักข่าวเอพีรายงานเมื่อวันที่ 5 กันยายน 2023 ว่ารัฐบาลอินเดียโดยนายกรัฐมนตรี นเรนทรา โมดี มีความปรารถนาจะเปลี่ยน ชื่อประเทศ จาก “อินเดีย” มาเป็น “ภาร...
การต่อสู้ของซูการ์โน บุรุษกู้ชาติแห่งอินโดนีเซีย แต่ถูกกลบฝังให้ลืม
ซูการ์โน (Sukarno) เป็นหนึ่งในปัญญาชนคนสำคัญของ "อินโดนีเซีย" ที่มีบทบาทต่อต้านเจ้าอาณานิคมตะวันตกอย่าง "ฮอลันดา" ที่เข้ามายึดครองอินโดนีเซียอย่างกดขี...
ราชอาณาจักรฮาวาย บทเรียนแห่งการสูญแผ่นดิน สิ้นชาติ ขาดกษัตริย์ (ตอนที่ 1)
ราชอาณาจักร "ฮาวาย" บทเรียนแห่งการสูญแผ่นดิน สิ้นชาติ ขาดกษัตริย์ (ตอนที่ 1)
ปี พ.ศ. 2436/ค.ศ. 1893 เป็นปีที่สยามประเทศจำเป็นต้องยอมสูญเสียแผ่นดินส่ว...