เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันจันทร์ที่ 20 มีนาคม พ.ศ.2566
หน้าแรก แท็ก อยุธยา

แท็ก: อยุธยา

เปิดบันทึกประวัติศาสตร์ที่มา “พระปีย์” พระราชบุตรบุญธรรม ในสมเด็จพระนารายณ์?...

ความที่สมเด็จพระรามาธิบดี พระองค์ที่ 6 (สมเด็จพระนารายณ์) ไม่มีพระราชโอรสที่ประสูติแต่พระอัครมเหสีอย่างที่ตั้งพระทัยไว้ จึงทรงรับเอา “พระปีย์” บุตรขุน...

ข้อมูลเรื่องข้าวปลายสมัยอยุธยายืนยัน “กรุงศรีอยุธยา” เมืองอู่ข้าวอู่น้ำตัวจริง

ในสมัยอยุธยาตอนปลาย จากสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชจนถึงเสียกรุงครั้งที่ 2 ผู้คนมักอาศัยอยู่ตามริมแม่น้ำ ลำคลอง เพื่อการคมนาคม ทำมาหากิน แม่น้ำสายใหญ่แล...

ใครสร้างภูเขาทองที่อยุธยา?

วัดภูเขาทอง ตำบลภูเขาทอง อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ในพระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา พระราชพงศาวดาร ฉบับพระจักรพรรดิพงศ์ (จาด) ฉบั...

ทุ่ง ป่า และภู เพื่อล่าโพนช้าง ของสมเด็จพระนารายณ์

ผู้เขียนเป็นชาวลพบุรี คุ้นเคยกับวัง วัด และโบราณสถานที่นั่น ตลอดจนทุ่งนา ป่าเขาของเมืองแห่งประวัติศาสตร์นี้ค่อนข้างมากมาแต่ครั้งเรียนหนังสือชั้นมัธยม ...

ลำดับเหตุการณ์การรัฐประหารพระนารายณ์

ลำดับเหตุการณ์การรัฐประหารพระนารายณ์ 23 กันยายน พ.ศ. 2228 คณะราชทูตไทยที่ไปฝรั่งเศสกลับถึงกรุงศรีอยุธยา คณะราชทูตของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 เดินทางเข้ามา...

ราชทูตกษัตริย์สุลัยมานบันทึกว่า ชาวเปอร์เซีย (อิหร่าน) ช่วย พระนารายณ์ ยึดบัลลัง...

"สำเภากษัตริย์สุลัยมาน" เป็นบันทึกโดยอาลักษณ์ของคณะราชทูตเปอร์เซียของกษัตริย์สุลัยมานแห่งราชวงศ์เศาะฟะวียฮฺที่เดินทางเข้ามายังกรุงศรีอยุธยาในสมัยสมเด็...

เนเมียวสีหบดีเลือก วัดป่าฝ้าย-ปากน้ำประสบ ตั้งค่ายในสงครามเสียกรุงฯ ครั้งที่ 2

ครั้งสงครามคราวเสียกรุงศรีอยุธยา พ.ศ. 2310 พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ระบุว่า “วัดป่าฝ้าย ปากน้ำประสบ” เป็นที่ค่ายใหญ่ของเนเมียวสีหบดี แม่ทัพพม่าด้าน...

ตัวอักษร “ฮ. นกฮูก” มีใช้ครั้งแรกเมื่อใด?

อักษร ฮ พบหลักฐานการใช้ที่เก่าแก่ที่สุดอยู่ในสมุดไทยเรื่อง "นันโทปนันทสูตร" พระนิพนธ์ของเจ้าฟ้าธรรมธิเบศ เมื่อ พ.ศ. 2279 ในรัชกาลสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบ...

ตามติด “นักเรียนไทย” ของพระนารายณ์ในฝรั่งเศส ที่มิอาจหวนคืนอยุธยา

ในการเจริญสัมพันธไมตรีกับฝรั่งเศสสมัยอยุธยา สมเด็จพระนารายณ์ทรงส่ง “นักเรียนไทย” ไปพร้อมกับคณะราชทูต เพื่อศึกษาวิชาการต่าง ๆ ของชาติตะวันตก แบ่งออกเป็...

จุดเริ่มต้นของอุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา สู่มรดกโลกทางวัฒนธรรม

อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา ตั้งภายในเกาะเมืองอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีสำคัญอีกแห่งหนึ่งในประ...

“อยุธยา” ที่ไม่ใช่ราชธานี แต่เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย

เมื่อกรุงศรีอยุธยาเสียใน พ.ศ. 2310 แม้บ้านเมืองจะถูกทำลายเสียหาย, ชาวเมืองอพยพหนีภัยสงคราม หรือถูกกวาดต้อนไปเป็นเชลย และสิ้นฐานะ “ราชธานี” อายุกว่า 40...

ฉากแรกสัมพันธ์ อยุธยา-โปรตุเกส การรับราชทูตตะวันตกครั้งแรกในอยุธยา

โปรตุเกสเป็นชาติตะวันตกชาติแรกที่เดินทางเข้ามาติดต่อเจริญสัมพันธไมตรีกับอยุธยา เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 16 ตรงกับรัชสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 สืบเนื่องม...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น