แท็ก: อยุธยา
สุนทรภู่ : บรรพชนและวังหลัง
ผมได้นำเสนอเรื่องบรรพชน (ที่สุนทรภู่เองท่านเรียกว่า โคตรญาติย่ายาย) ของท่านสุนทรภู่ ว่าเป็นสกุลพราหมณ์เมืองเพชร เมื่อปี พ.ศ. 2529 อันเป็นโอกาสครบรอบอา...
ขุนนางสยามชาวฝรั่งเศสชี้ “คนไทยปัญญาทึบ เด็กก็เชื่อฟังแต่บิดา” เลยไม่รับคริสต์ศา...
“…ผู้หญิงไทยเป็นหญิงบริสุทธิ์ ผู้ชายไม่ดุร้าย และเด็กก็เชื่อฟังบิดาเพราะเหตุฉะนั้น ไม่มีหวังเลยที่จะเปลี่ยนใจคนไทยให้มาเลื่อมใสคริสต์ศาสนาได้ นอกจากคน...
สำรวจปริศนา เมืองไทยเคยมี “ขันที” จริงหรือไม่?
แม้ว่าเราจะไม่พบข้อมูลหรือบันทึกโดยตรงเกี่ยวกับ ขันที ในเมืองไทย จนทำให้คนส่วนใหญ่พากันคิดว่าในเมืองไทยไม่เคยมีขันที แต่กระนั้นก็ตามเรายังคงพอมีเอกสาร...
ความรู้สึกและอุบายของฟอลคอน เมื่อทหารฝรั่งเศสเข้ามาสยาม จากบันทึกบาทหลวง
บาทหลวงอาเดรียง โลเนย์ (Adrien Louney) ได้บันทึกเกี่ยวกับเรื่องนี้ไว้ว่า นับแต่สมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงเห็นกองทหารฝรั่งเศสเข้ามาในสยามก็ทรงเข้าพระทัย...
เจาะตำนาน วัดพนัญเชิง-ตำบลสำเภาล่ม จุดบรรจบเจ้าพระยา-ป่าสัก น้ำเชี่ยวทำเรือล่ม
ตำนาน "พระเจ้าสายน้ำผึ้ง" กับ "พระนางสร้อยดอกหมาก" เป็นมุขปาฐะที่เล่าเรื่องราวของกรุงศรีอยุธยาช่วงก่อนการก่อตั้งเมืองในสมัยพระเจ้าอู่ทอง เป็นเรื่องเล่...
เปิดเส้นทางชีวิต “กรมหมื่นเทพพิพิธ” เจ้านายนักการเมืองสไตล์ ไม่ชนะ ไม่ตาย ไม่เลิ...
รัชสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เป็นช่วงเวลาที่กรุงศรีอยุธยารุ่งเรืองที่สุดสมัยหนึ่ง ในขณะเดียวกันก็เต็มไปด้วยความขัดแย้งภายในการช่วงชิงอำนาจมากที่สุดสมัย...
“พรานนก” ชื่อนี้มาจากไหน? กลายเป็นชื่อย่าน-ถนนที่ฝั่งธนบุรีได้อย่างไร?...
"พรานนก" เป็นหนึ่งในตำนานสมรภูมิสำคัญของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี หรือพระเจ้าตาก (สิน) ที่กรุงศรีอยุธยา ในช่วงปลายยุคสมัยก่อนกรุงแตกไม่นานนัก แต่ชื่อพรา...
กำเนิดวัฒนธรรมพันปี เมื่อมนุษย์รู้จักดื่ม “ไวน์” แพร่หลายเข้าสู่ไทยเมื่อใด?...
มนุษย์รู้จักองุ่นมานานกว่าหมื่นปีที่แล้ว นำมาใช้ประโยช์หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นกินผลสด ตากแห้งเป็นลูกเกด คั้นเป็นน้ำองุ่นสำหรับดื่ม กระทั่งเรียนรู้นำองุ่...
วัดวังไชย
พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยาหลายฉบับระบุไว้ตรงกันว่า วัดวังไชย เดิมเป็นวังของพระเฑียรราชาหรือสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ (พ.ศ. 2091-2111) ซึ่งภายหลังเมื่อเสด...
การสืบราชสันตติวงศ์ สมัยอยุธยา ในบันทึกชาวต่างชาติ
ตั้งแต่การสมัย "กรุงศรีอยุธยา" ก็มีชาวต่างชาติเดินทางเข้ามาเพื่อการค้า, แผยแพร่ศาสนา, ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ฯลฯ บางคนพำนักอยู่เพียงไม่กี่วัน บางคน...
นักโบราณคดีอ้างหลักฐานเครื่องปั้นดินเผา บ่งชี้ความบรรลัยจาก “โรคห่า” ในยุคกลาง
เมื่อปี 2016 นักโบราณคดีจากมหาวิทยาลัยลินคอล์นในอังกฤษหยิบยกหลักฐานว่าด้วยลักษณะการแพร่กระจายของเครื่องปั้นดินเผาขึ้นมาสนับสนุนความถูกต้องของบันทึกประ...
ยุทธศาสตร์ทัพพม่า สงครามคราวเสียกรุงครั้งที่ 2 ตีล้านนา ล้านช้าง และหัวเมืองเหนื...
สมเด็จกรมพระยาดำรงฯ ทรงตั้งข้อวินิจฉัยไว้ในพระนิพนธ์ไทยรบพม่า ว่า ในชั้นต้นพม่าไม่ได้ประสงค์จะเข้าตีกรุงศรีอยุธยา ทั้งนี้ เห็นได้จากกองทัพที่พระเจ้ามั...