เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพฤหัสที่ 23 มีนาคม พ.ศ.2566
หน้าแรก แท็ก อยุธยา

แท็ก: อยุธยา

ถกปมหลักฐาน-มุมมองต่อนิยามคำ “พระเจ้าจงกรม” กับ “พระเจ้าหย่อนตีน” คืออะไรกันแน่?...

สำรวจหลักฐานและมุมมองต่อนิยามคำ พระเจ้าจงกรม กับ พระเจ้าหย่อนตีน สองคำนี้คืออะไรกันแน่? สืบเนื่องจาก รศ.ดร. ศานติ ภักดีคำ เขียนบทความเรื่อง “ศิลาจา...
ภาพ ขันทีแขก ที่วาดเป็นฉากกั้นเขตพระราชฐานราชสำนักอยุธยา ลักษณะสำคัญที่สังเกตได้คือ เป็นบุคคลที่แต่งตัวโพกผ้า สวมเสื้อคลุมแบบแขกเทศ และมีไม้เท้าที่ไว้คอยกำกับหรือตีบรรดานางกำนัลที่ออกนอกรีตนอกรอย บางครั้งก็ใช้ไล่พวกหนุ่มๆ ที่อแบมาลอบมองหรือเกี้ยวพาราสีนางใน (ภาพจาก หอเขียน วังสวนผักกาด กรุงเทพฯ)

ขันทีแห่งกรุงศรีอยุธยา : นักเทษ-นายกำนัล-ยูนุค ถูกตอนจริงไหม ตอนที่ไหน?

กรุงศรีอยุธยามี “ขันที” ไหม?  ถ้ามีขันทีเหล่านี้เรียกขานว่าอะไร? มาจากไหน? คำตอบทั้งหมดนี้ อาจารย์ จุฬิศพงศ์ จุฬารัตน์ เคยเขียนอธิบายไว้อย่างดีในบทควา...

“กูไม่กลัว” สาสน์จากพระมหาจักรพรรดิถึงพระเจ้าบุเรงนอง สงครามการทูตหงสาวดี-อยุธยา...

จุลศักราช 925 ตรงกับ พุทธศักราช 2106 พระเจ้าบุเรงนองทรงทราบว่า พระมหาจักรพรรดิ แห่งกรุงศรีอยุธยาทรงมีพระเศวตกุญชรถึง 4 ช้าง หากได้มาสักช้างหนึ่งก็หมาย...

“ชาวอยุธยา” รับใช้กษัตริย์พม่า ไฉนเจ้านายพม่ากล้าให้รักษาประตูเมือง-วัง-กองทหารม...

เป็นที่รู้กันว่าสมัยสงครามที่อยุธยารบพุ่งกับพม่า ชาวอยุธยาที่ถูกกวาดต้อนไปที่พม่าก็มีไม่น้อย แต่คำถามคือใครที่ถูกกวาดต้อนไปบ้าง และมีใครไปพึ่งพระบรมโพ...

การเรียกพระนาม “พระเจ้าแผ่นดิน” จากคำวินิจฉัยของกรมพระยาดำรงราชานุภาพ...

พระนามพระมหากษัตริย์ไทย นอกจากจะมีความไพเราะและวิตรแล้ว ยังแฝงไปด้วยคติทางศาสนาทั้งพราหมณ์ ฮินดู พุทธ เป็นต้น รวมถึงสะท้อนให้เห็นความสามารถด้านอักษรศา...

“หม่าฮวน” ล่ามในคณะเดินทางของ “เจิ้งเหอ” บันทึกถึงกรุงศรีอยุธยาไว้อย่างไรบ้าง?...

นายท่องสื่อ ถอดความจาก Ying-Yai Sheng-Lan ของ Ma Huan ตอน The Cpuntry of Hsien Lo (J. V. G. Mills แปลเป็นภาษาอังกฤษจากต้นฉบับภาษาจีนชำระโดย Feng Ch'en...

เรื่องขี้ ๆ สมัยกรุงศรี กับการ “ปาขี้” ของชาวอยุธยา

สำรวจเรื่อง ขี้ ๆ สมัยกรุงศรีอยุธยา ในสมัยที่ยังไม่มีแนวคิดเรื่องสุขอนามัยดังเช่นคนสมัยใหม่ และการ "ปาขี้" ของชาวอยุธยา ในสมัยอยุธยายังไม่มี "ห้องน...

ศึกสีกุก ยุทธศาสตร์ที่ผิดพลาดของอยุธยา สมรภูมิที่ไม่ปรากฏในหลักฐานไทย

จุดบรรจบของแม่น้ำน้อยและคลองบางบาล ที่อำเภอบางบาล จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นที่ตั้งของ "วัดสีกุก" อาณาบริเวณนี้สมัยสงครามคราวเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที...

เทคนิค “รัฐประหาร” ฉบับกรุงศรีอยุธยา วงศ์สุพรรณภูมิยึดบัลลังก์วงศ์อู่ทอง...

"...ศักราช 731 (พ.ศ. 1912) แรกสร้างวัดพระราม ครั้งนั้นสมเด็จพระรามาธิบดีเจ้าเสด็จนฤพาน จึงพระราชกุมารท่าน สมเด็จพระราเมศวรเจ้าเสวยราชสมบัติ ครั้นเถิงศ...

การช่วงชิงอำนาจปลายรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์ จากคำให้การลูกเรือสำเภาจีน

หลักฐานที่บันทึกเหตุการณ์การช่วงชิงอำนาจในช่วงปลายรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์ นอกจากพงศาวดารไทย บันทึกของ VOC (ฮอลันดา) และฝรั่งเศสแล้ว อีกหนึ่งหลักฐานที่...

อ่าน “อยุธยา” จากเอกสารริวกิว-ญี่ปุ่น ความรุ่งเรือง “รัฐเมืองท่า” แห่งอุษาคเนย์...

ประวัติศาสตร์ของราชอาณาจักรอยุธยา (พ.ศ. 1893-2310, ค.ศ.1350/1351-1767) ถูกมองว่าเป็นเพียงช่วงเปลี่ยนผ่านชั่วคราวจากอาณาจักรสุโขทัย (ประมาณ พ.ศ. 1783-1...

ประวัติแต่งกายสุภาพ เปลือยอกถึง “เสื้อลูกไม้” และที่มาสมัยร.3 “สวมเสื้อเข้ามาก็ไ...

พัฒนาการของเครื่องแต่งกายตั้งแต่สมัยสุโขทัยมาจนถึงรัตนโกสินทร์ไม่เพียงเกี่ยวข้องกับบริบททางสภาพอากาศแต่อีกแง่หนึ่งยังสะท้อนถึงบริบทอีกหลายประการ ตั้งแ...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น