เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันอาทิตย์ที่ 15 กันยายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก หลวงประดิษฐไพเราะ

แท็ก: หลวงประดิษฐไพเราะ

“หลวงประดิษฐไพเราะ” ครูเพลงไทย ที่กษัตริย์กัมพูชาขอยืมตัวจาก ร.7 ไปสอนดนตรีให้รา...

หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) คือครูเพลงไทยผู้มีฝีมือหาตัวจับยาก กระทั่ง พ.ศ. 2473 พระบาทสมเด็จพระศรีสวัสดิ์ มณีวงศ์ (เอกสารกัมพูชาเรียก พระบาทสมเ...

“ไส้เดือนฉกจวัก” เพลงไทยสมัยกรุงศรีฯ ไพเราะจนร.6 เลื่อนชั้นเป็น “นาคราช”

ชื่อสัตว์หลายชนิดมีการหยิบยืมมาใช้ตั้งแป็นชื่อของเพลงไทยจำนวนมาก เช่น เต่ากินผักบุ้ง, ปลาทองเถา, จระเข้หางยาว, โหมโรงเต่าทอง, ค้างคาวกินกล้วย, ระบำงูก...

หลวงประดิษฐไพเราะแต่งเพลง “แสนคำนึง” ระบายความรู้สึกต่อนโยบายชาตินิยมของ จอมพล ป...

ไม่เชื่อผู้นำ-เกิดแสนคำนึง เพลงสะท้อนปฏิกิริยานโยบายวัฒนธรรม หลังสงครามโลก หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) (6 สิงหาคม 2424 - 8 มีนาคม 2497) นอกจา...

ชีวิต “กิ่ง พลอยเพ็ชร์” ปี่พาทย์อาภัพ ศิษย์(เอก)หลวงประดิษฐไพเราะ หนีครูไปอยู่ทห...

ชื่อ กิ่ง พลอยเพ็ชร์ อาจไม่คุ้นหูนักสำหรับนักดนตรีรุ่นใหม่ หากย้อนกลับไปเมื่อกว่า 20 ปีก่อน กิ่ง พลอยเพ็ชร์ ถือเป็นครูและนักดนตรี เป็นคนฆ้องฝีมือเยี่ย...

ศึกประชันปี่ พระยาเสนาะดุริยางค์ (แช่ม สุนทรวาทิน) ปะทะ หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิ...

นอกจากการประชันระนาดของสองครูดนตรีที่ยิ่งใหญ่แห่งยุคสมัยอย่าง พระยาเสนาะดุริยางค์ (แช่ม สุนทรวาทิน) กับหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) แล้ว ทั้งสองท...

“โม่ สัมบุณณานนท์” นักชกไทยคนแรกพิชิต “มวยฝรั่ง” ยุคมวยสากลเพิ่งนำเข้าไทย...

ปัจจุบัน วงการมวยเมืองไทยกําลังให้ความนิยมมวยแบบสากลกันอย่างกว้างขวาง มีการส่งเสริมให้มีการแข่งขันกันอยู่เสมอ ทั้งระหว่างชาติ โดยการสั่งนักมวยจากต่างป...

“อุงคลุง” เครื่องดนตรีชวา ที่หลวงประดิษฐไพเราะพัฒนาเป็น “อังกะลุง”

พ.ศ. 2451 หลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ขณะยังเป็นจางวางศร ต้องตามเสด็จจอมพลสมเด็จพระราชปิตุลาบรมพงศาภิมุข เจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมพระยาภาณุพ...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น