เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพุธที่ 4 ธันวาคม พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก หนังสือพิมพ์

แท็ก: หนังสือพิมพ์

พระยาพหลฯ พระยาพหลพลพยุหเสนา

21 มิถุนายน 2476: พระยาพหลฯ ประกาศให้เสรีภาพแก่หนังสือพิมพ์ ไม่กลัวถูกด่า

21 มิถุนายน 2476 พระยาพหลฯ ประกาศให้เสรีภาพแก่ หนังสือพิมพ์ ไม่กลัวถูกด่า “…ข้าพเจ้าจะให้สิทธิแก่หนังสือพิมพ์เต็มที่ ข้าพเจ้าไม่ชอบการใช้อำนาจปิดป...
พระเจ้ากรุงสยาม รัชกาลที่ 4

ค้นหาภาพแรกของ “พระเจ้ากรุงสยาม” ที่ปรากฏต่อสายตาชาวโลก

ภาพแรกของ พระเจ้ากรุงสยาม คือภาพใด? ก่อนอื่นต้องกล่าวถึง "พระบรมฉายาลักษณ์" เสียก่อน พระบรมฉายาลักษณ์ของพระเจ้าแผ่นดิน นอกจากจะเป็นภาพขององค์พระประมุ...
ภาพถ่าย ครอง จันดาวงศ์ ในวันประหาร

ในวันที่ ครอง จันดาวงศ์ อาจไม่ได้พูด “เผด็จการจงพินาศ ประชาธิปไตยจงเจริญ”

เป็นที่รับรู้ในเชิงประจักษ์ว่าวลี “เผด็จการจงพินาศ ประชาธิปไตยจงเจริญ” เป็นวาทศิลป์ที่นิยมนำมาใช้แสดงออกทางการเมืองไทยในช่วง 10 กว่าปีหลังมานี้วาทศิลป...
หารอเมริกัน อ่าน หนังสือพิมพ์ สตาร์ส แอนด์ สไตรป์ส ช่วง สงครามโลกครั้งที่ 2

หนังสือพิมพ์สตาร์ส แอนด์ สไตรป์ส 1 ใน 100 สิ่งสำคัญในสงครามโลกครั้งที่ 2

ถ้า เรือรบ, ระเบิด, ปืน, เครื่องบิน ซึ่งเป็นยุทธปัจจัยสำหรับสงคราม ย่อมเป็นสิ่งจำเป็น แต่ทำไม "หนังสือพิมพ์" จึงเป็น 1 ใน 100 รายการ สิ่งของสำคัญใน "ส...
การ์ตูนล้อเลียน จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ เป็น ลิง

เปรียบสฤษดิ์ เป็น “ลิง-ไอ้ลิงบ้ากาม” กับภาพล้อ “อ้ายหน้าลิงกำลังฆ่าประชาธิปไตย”...

สื่อในยุค 2500 ที่มีบทบาทสำคัญมากที่สุดคือ "หนังสือพิมพ์" แม้แต่ จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ ก็มีหนังสือพิมพ์อยู่ในกำมือเพื่อสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้ตนเอง และ...

มองหนังสือพิมพ์กับจิตสำนึกคนล้านนา จากกลุ่มสื่อ “ข่าวเสด็จ” ถึง “ศรีเชียงใหม่”

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อชี้ให้เห็นถึงความสำเร็จในการสอนหนังสือไทยในมณฑลพายัพ ผ่าน “ข่าวเสด็จ” และ “ศรีเชียงใหม่” ซึ่งเป็นหนังสือพิมพ์ภาษาไทยฉบับแร...

ไขปมกรมหลวงประจักษ์ฯ พระอนุชาในร.5 ชำระเหตุคนเมาบู๊กันแถวบ้านหมากแข้ง

หนังสือพิมพ์บางกอกสมัย ฉบับวันที่ 8 ธันวาคม ร.ศ. 117 พ.ศ. 2411 ในหอสมุดแห่งชาติ บอกเล่าเหตุการณ์อันมีสีสันไว้และมีช่วงหนึ่งเกี่ยวข้องกับพระอนุชาพระองค...

กรมหมื่นนราธิปฯ กับการบัญญัติศัพท์ในภาษาไทย และการก่อตั้งหนังสือพิมพ์ “ประชาชาติ...

ศัพท์ที่นิยมใช้กันในปัจจุบันเช่นคำว่า รัฐธรรมนูญ, ประชาธิปไตย, วัฒนธรรม, สื่อสารมวลชน, นโยบาย, ปฏิวัติ ฯลฯ ไม่ใช่ศัพท์เก่าแก่ แต่เป็นศัพท์ที่ถูกบัญญัต...

“ศรีกรุง” ออร์แกนของคณะราษฎร หนังสือพิมพ์ที่ช่วยโหมโรงการปฏิวัติ 2475...

"ศรีกรุงกำลังโหมโรงโดยได้รับหน้าที่เป็นออร์แกน (Organ) ของคณะราษฎรอยู่แทบตลอด" นี่คือคำกล่าวของ ร้อยตรีเนตร พูนวิวัฒน์ สมาชิกคณะ ร.ศ. 130 หรือกบฏเหล็ง...

เปิดโฉมหน้าหน่วยประมวลข่าวสงครามเฉพาะกิจของไทย สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2

“กรรมการพิจารณาประมวลข่าวในยามฉุกเฉิน” เปิดโฉมหน้าหน่วยประมวลข่าวสงครามเฉพาะกิจของไทย 1 กันยายน 1939 (พ.ศ. 2482) ถือเป็นวันเริ่มต้นของสงครามโลกครั้ง...

“วันนี้มีข่าวอะไร?” บนหน้าหนังสือพิมพ์ฉบับเมื่อ 150 ปีที่แล้ว

“วันนี้มีข่าวอะไร” เป็นคำพูดคุ้นเคย เมื่อเห็นใครถือหนังสือพิมพ์อยู่ในมือ แล้วถ้าเป็นหนังสือพิมพ์เมื่อ 150 กว่าปีที่แล้วล่ะจะเป็นอย่างไร หนัง...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น