เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพฤหัสที่ 25 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก สำเพ็ง

แท็ก: สำเพ็ง

สำเพ็ง ตลาด

สำเพ็ง เป็นภาษามอญ? สำรวจความเป็นมาของชื่อที่มีหลายข้อสันนิษฐาน

สำรวจความเป็นมาของชื่อ ตลาด สำเพ็ง เป็นภาษามอญ จริงหรือ? แต่ก็มีข้อสันนิษฐานถึงที่มาของคำนี้หลายประการ “บางจีน” ย่านคนจีนก่อนย้ายไปสำเพ็ง “บางจีน”...
แม่น้ำเจ้าพระยา การค้าทางเรือ

รู้จัก “โปเส็ง” ท่าเรือ 4 แผ่นดินอันโด่งดังแห่งย่าน “ตลาดน้อย”

“ตลาดน้อย” หรือที่ชาวจีนเรียกกันว่า “ตะลัคเกียะ” เป็นชุมชนจีนที่เกิดขึ้นมาจากการขยายตัวของ “สำเพ็ง” ศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของกรุงเทพฯ ในช่วงรัตนโกสินทร์...
มัสยิดหลวงโกชาอิศหาก

“หลวงโกชาอิศหาก” มัสยิดหนึ่งเดียวในชุมชนจีนย่านสำเพ็งมาจากไหน?

มัสยิดหลวงโกชาอิศหาก ตั้งอยู่เลขที่ 979 ถนนทรงวาด เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพฯ ชื่อตามผู้ก่อตั้งมัสยิดคือ หลวงโกชาอิศหาก (เกิด บินอับดุลลาห์) และเป็นมัสยิด...
เยาวราช ถนนเยาวราช

“เยาวราช” พิพิธภัณฑ์ (มี) ชีวิตจีนโพ้นทะเล

บทนำ “เยาวราช” เป็นชื่อถนนสายหนึ่ง ในเขตสัมพันธวงศ์ หากฐานะที่แท้จริง เยาวราชคือชุมชนจีนโพ้นทะเลเก่าแก่ขนาดใหญ่ในเมืองไทย เยาวราชที่จะกล่าวถึงต่อไปใน...
รัชกาลที่ 7 พระปกเกล้า ถ่ายภาพ คู่กับ พระนางเจ้ารำไพพรรณี

ที่มาของพระราชดำรัส รัชกาลที่ 7 แก่ชาวจีน “ข้าพเจ้าเองก็มีเลือดจีนปนอยู่”...

ความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนมีความเป็นมายาวนาน สถาบันพระมหากษัตริย์ไทยมีส่วนสำคัญต่อสถานะของความสัมพันธ์นับตั้งแต่สมัยโบราณ มาจนถึงยุครัตนโกสินทร์ ซึ่งห...

เถียน-เต็ง-หอย สามชาวจีนอพยพ สู่นายทุน-ขุนนางยุคแรกในสยาม กับภาพสะท้อนระบบอุปถัม...

เถียน เต็ง และ หอย เป็น ชาวจีน 3 ราย ที่อพยพเข้ามาในสยาม ต่อมาสร้างเนื้อสร้างตัวกระทั่งมีฐานะ และเป็นต้นธารของตระกูลใหญ่ที่มีบทบาทในสังคมไทย และได้รับ...

สืบต้นกำเนิดสำเพ็ง จากศูนย์การค้ายุคแรกสมัยรัตนโกสินทร์ สู่ย่านสีเทา-โสเภณี

ทุกวันนี้คนที่เคยสัมผัสกับบรรยากาศในกรุงเทพฯ น้อยคนนักที่จะไม่รู้จักย่าน "สำเพ็ง" ย่านการค้าที่เคยถูกเปรียบได้ว่าแทบเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจการค้าที่เ...

สำเพ็ง : กำเนิด ความสำคัญ และความผูกพันในร่มพระบารมีจักรีวงศ์

สำเพ็งเป็นนามของย่านชาวจีนสำคัญมีกำเนิดควบคู่มากับการตั้งกรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งผ่านการเวลาและการเปลี่ยนแปลงทั้งทางกายภาพ เศรษฐกิจ ตลอดจนด้านวัฒนธรรมอย่...
เยาวราช แหล่งรวมสินค้าต่างๆ จากเมืองจีนตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน

2 วัด กับ 1 โรงพยาบาล หลักฐานความเฟื่องฟูของ “หญิงหากิน” สมัยรัชกาลที่ 5...

หญิงหากิน, หญิงคนชั่ว, โสเภณี ฯลฯ หรืออีกหลายชื่อที่เรียกกันในแต่ละยุคว่า และไม่ว่าเทคโนโลยีจะก้าวล้ำไปขนาดไหน อาชีพเก่าแก่นี้ยังคงอยู่เรื่อยมาก แม้จะ...

เริ่มแล้ว! “Song Wat Week” ท่องทรงวาด สัมผัสย่านธุรกิจเก่าแก่ของกรุงเทพ...

“ถนนทรงวาด” ย่านสำเพ็ง ในอดีตนับเป็นอีกศูนย์กลางการค้ายุคบุกเบิกของไทย มีกิจการห้างร้านหลากหลายประเภทดำเนินธุรกิจอย่างคึกคัก มีการคมนาคมขนส่งสินค้...

เปิดบันทึกประวัติ นายเตี่ย(เท่งปอ) ต้นตระกูล “อึ๊งภากรณ์” พนง.รับใช้ สู่ “ขุนอาก...

เนื่องจากบทความเรื่อง "อึ๊งภากรณ์-เหลืองดังดวงตะวัน" ของ ดร. วรวุฒิ จิราสมบัติ ใน (นิตยสาร) ศิลปวัฒนธรรม ฉบับเดือนพฤษภาคม 2549 ได้กล่าวถึงประวัติชีวิต...

วิถี “ตลาดน้อย” ยุคตั้งต้น ชุมชน “จีน” กับความเฟื่องฟูที่ถูกผนวกรวมกับย่านสำเพ็ง...

ย่านตลาดน้อย เป็นชุมชนจีนที่เกิดขึ้นมาจากการขยายตัวของสำเพ็งซึ่งเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของกรุงเทพฯ ในช่วงรัตนโกสินทร์ตอนต้น โดยที่บรรดาชาวจีนต่างพากั...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น