แท็ก: สำนวน
สำนวน “เจ้าชู้ประตูดิน” มีที่มาจากไหน?
"เจ้าชู้ประตูดิน" คำนี้มีที่มาจากไหน? เกี่ยวอะไรกับ "ประตูดิน"?
"ประตูดิน" เป็นคำปากชาวบ้านเรียกประตูวัง ซึ่งทางเดินเข้าออกตรงประตูนี้แต่เดิมคงจะเป...
“เกงจิ๋วยืมนาน ไม่ยอมคืน” สำนวนสอนใจที่เกิดจาก “เล่าปี่” หย่อนคุณธรรม...
“เกงจิ๋ว” เมืองที่มีความสำคัญในวรรณกรรมเรื่อง "สามก๊ก" เพราะเป็นจุดกำเนิดสำนวนสอนใจ “เกงจิ๋วยืมนาน ไม่ยอมคืน” ทำให้ เล่าปี่ ซึ่งเป็นตัวละครสำคัญในเรื่...
“ขึ้นคาน” แปลว่าอะไร ทำไมใช้เปรียบถึง “สาวใหญ่” ยังโสด คานอะไร?...
คำว่า "ขึ้นคาน" เป็นภาษาปาก พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถานให้ความหมายว่า โดยปริยายหมายถึง หญิงโสดที่มีอายุแต่ยังไม่มีสามี ซึ่งมักเข้าใจกันผิดว่า คาน ในท...
“Old soldiers never die-ทหารเก่าไม่มีวันตาย” ประโยคเด็ดนายพลแม็กอาร์เธอร์...
"Old soldiers never die-ทหารเก่าไม่มีวันตาย" ประโยคที่ใครต่อใครในบ้านเรายืมทหารมาใช้กันอยู่บ่อยๆ หลายคนฟังแล้วอาจคิดค้านอยู่ในใจว่า เพราะข่าวฌาปนกิจนา...
“หลี” ในคำว่า “หลีสาว” มีที่มาจากไหน ?
คำว่า "หลี" แปลว่าอะไร? คำว่า "หลี" ใน "หลีสาว" มีที่มาจากไหน ?
"หลี" ในภาษาจีนมีหลายคำเช่น "หลี" ที่เป็นแซ่หนึ่งของจีน อันเป็นแซ่ของพระจักรพรรดิจี...
“ไชยามพวาน” หนึ่งใน “วานรสิบแปดมงกุฎ” ขุนศึกของพระราม
“ไชยามพวาน” คือหนึ่งในกลุ่มเสนาวานร กำลังสำคัญที่ช่วยพระรามปราบทศกัณฐ์ในเรื่อง รามเกียรติ์ โดยมีชื่อเรียกกลุ่มนี้ว่า “วานรสิบแปดมงกุฎ” ชื่อเดียวกับสำน...
“ตุ่มสามโคก” หมายความว่าอย่างไร ทำไมต่อท้าย “ตุ่ม” ว่า “สามโคก” ?...
“ตุ่มสามโคก” หมายความว่าอย่างไร ทำไมต่อท้าย "ตุ่ม" ว่า "สามโคก" ?
สมัยเมื่อผมเป็นเด็ก เคยได้ยินผู้ใหญ่ท่านเปรียบเปรยผู้หญิงคนหนึ่งว่า “ยายตุ่มสามโค...
ทำไมสำนวนไทยถึงใช้ “เกลือ” แทนความอึด ความทน? ทำไมต้องเป็นเกลือเค็มๆ?
สำนวนไทยที่บอกกล่าวให้อดทน กับความยากจน, ความลำบาก ที่มีคำว่า เกลือ ซึ่งคนคุ้นเคยว่า “ให้ทนกัดก้อนเกลือกิน” บ้าง “ให้รักษาความดีเหมือนเกลือรักษาความเค...
“งามทั้งห้าไร่” งามเหมือนไพร่ งามจริงหรือประชด? หาที่มาของสำนวนเก่าแทบไม่มีใครใช...
งามทั้งห้าไร่ งามเหมือนไพร่ งามจริงหรือประชด? หาที่มาของสำนวนเก่าแทบไม่มีใครใช้
คำว่างามทั้งห้าไร่ เป็นสำนวนเก่าของไทยอีกสำนวนหนึ่ง ซึ่งในปัจจุบันไ...
ความลับของคำว่า “อ้ายเสือ” หมายถึงโจรที่ต้องมีคุณธรรมจริงหรือ?
“อ้ายเสือ” มีความหมายว่าอย่างไร ก่อนอื่นต้องดูถึงสังคมไทยที่มีสำนวน ภาษิต คำพังเพยมากมายที่มีคำว่า “เสือ” เป็นส่วนประกอบ เสือมีคำจำกัดความว่า เป็นชื่อ...
สำนวน “ร้อยเอ็ดเจ็ดย่านน้ำ” หมายถึงอะไร “เจ็ดย่านน้ำ” มีอะไรบ้าง?
สำนวน “ร้อยเอ็ดเจ็ดย่านน้ำ” พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน อธิบายว่าเป็นภาษาปาก, เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง “ทั่วทุกแห่งหน” มักใช้ในรูปประโยคเช่น ฉันไปเที่ยว...
“หัวเรือใหญ่” แปลว่าอะไร
"หัวเรือใหญ่" แปลว่าอะไร
แต่ก่อนนี้รถ (ยนต์) ยังไม่มี, เมื่อรถยังไม่มีก็พลอยให้ถนนไม่มีไปด้วย ถนนสายแรกของกรุงเทพฯ (รวมพระนคร-ธนบุรี) เรานี้คือถนนเ...