เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพุธที่ 6 ธันวาคม พ.ศ.2566
หน้าแรก แท็ก สามก๊ก

แท็ก: สามก๊ก

บรรพชนเอี้ยวสิ้ว ปฏิเสธรับสินบนว่า ฟ้ารู้ ดินรู้ เจ้ารู้ เรารู้ ไยกล่าวว่าไม่มีใ...

แม้เราท่านจะไม่เคยรับสินบน ใต้โต๊ะบนโต๊ะกับใคร แต่ในซีรีส์, หนังสือ ฯลฯ การจ่ายสินน้ำใจในทางไม่ค่อยถูกต้องเหล่านี้ ผู้มอบมักพูดเสมอว่า “ไม่มีใครรู้” ห...

ศึกผาแดงที่ทัพเรือโจโฉโดนเผาวอด มิใช่แพ้เพราะสู้ศึกไม่ได้ แต่แพ้เพราะโรคระบาด

ในวรรณกรรมสามก๊ก มีการทำศึกของทั้ง 3 ก๊ก หลายๆ ครั้ง แต่ครั้งสำคัญที่มีกล่าวถึงถึงมาก น่าจะต้องยกให้ “ศึกผาแดง” หรือ “ศึกเซ็กเพ็ก” หรือที่คนเราไทยคุ้น...

ขงเบ้ง “จับแล้วปล่อยเบ้งเฮ็ก 7 ครั้ง” เรื่องแต่งหรือเรื่องจริงในประวัติศาสตร์?

ใครๆ ก็รู้ว่าวรรณกรรมจีนที่เป็นที่แพร่หลายอย่าง “สามก๊ก” นั้น เนื้อเรื่องผสมกันระหว่างข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์กับเนื้อเรื่องชูรสเพื่อความบันเทิง แบ...

เตียวหุย นายทหารเจ้าโทโส โมโหร้าย ที่นำภัยมาถึงตัว

บทบรรยายแรกที่เปิดตัว “เตียวหุย” ในสามก๊กว่า “ชายสูงประมาณ 5 ศอก ศีรษะเหมือนเสือ จักษุกลมใหญ่ คางพองโต เสียงดังฟ้าร้อง กิริยาดังม้าควบ” เป็นภาพลักษณ์ท...

จุดอ่อนของ “ขงเบ้ง” เรื่อง “การอ่านคน” กุนซือผู้เก่งกาจยังยอมรับเอง...

ในความคิดของคนจีน และผู้อ่านสามก๊กจำนวนไม่น้อย “ขงเบ้ง” เป็นสาวกของลัทธิเต๋า ที่มีความสามารถดั่งเทพเซียน เชี่ยวชาญในวิถีแห่งธรรมชาติ กำหนดกลยุทธการศึก...

“ลกเจ๊ก” กับวีรกรรมวัยเด็กที่ลักส้มมาฝากมารดา จนได้ชื่อเป็น 1 ใน 24 กตัญญู...

ความกตัญญูเป็นคุณธรรมพื้นฐานหนึ่งที่ผู้คนแต่ละเชื้อชาติให้ความสำคัญ สำหรับคนจีนคุณธรรมข้อนี้มีการให้น้ำหนักความสำคัญเพิ่มขึ้น และมีการรวมเรื่องราวความ...

อะแซหวุ่นกี้ ขอดูตัวเจ้าพระยาจักรี ฤาสะท้อนอิทธิพลสามก๊กในการเล่าพงศาวดาร?

“เวลาเมื่อพม่ากำลังตั้งค่ายล้อมเมืองนั้น อะแซหวุ่นกี้ยกพลเลียบค่ายไปเที่ยวตรวจชัยภูมิทุก ๆ วันเจ้าพระยาสุรสีห์คุมพลออกโจมตี สู้พม่าไม่ได้ต้องถอยมา เจ้...

โจชง อัจฉริยะผู้คิดวิธีชั่งช้าง ลูกที่โจโฉรักที่สุด แม้ตายแล้วยังจัดงานแต่งให้

โจชง เป็นลูกชายที่โจโฉ รักที่สุด, ให้ความสำคัญมากที่สุด, คาดหวังมากที่สุด ในบรรดาลูกชายที่มีทั้งหมด 25 คน โจชงมีคุณสมบัติถึงพร้อมในทุกด้าน คือปัญญาดี,...
ภาพ พระเจ้าจิ้นอู่ตี้

เมื่ออำนาจฮองเฮาเหนือบัลลังก์มังกร สู่ “กบฏ 8 อ๋อง” เค้าลางหายนะราชวงศ์จิ้น

ภายหลังสิ้นสุดยุคสามก๊ก จีนปกครองโดยราชวงศ์จิ้น แม้ผ่านยุคแห่งความแตกแยกมาได้ และสามารถรวมแผ่นดินให้เป็นปึกแผ่นอีกครั้ง แต่ก็ไม่ใช่ยุคสมัยแห่งความมั่น...

สมัยสามก๊ก “เมืองอู่ฮั่น” เกิดโรคระบาด? ที่ทำให้กองทัพโจโฉแพ้

ในวรรณกรรมสามก๊ก มีการทำศึกของทั้ง 3 ก๊ก หลายๆครั้ง  แต่ครั้งสำคัญที่มีกล่าวถึงมาก น่าจะต้องยกให้ “ศึกผาแดง” หรือ“ศึกเซ็กเพ็ก” หรือที่คนเราไทยคุ้นเคยว...

จิวยี่ แม่ทัพผู้สามารถในประวัติศาสตร์ ที่หลอกวนจ้ง ปู้ยี่ปู้ยำใน “สามก๊ก”

จิวยี่ (ค.ศ. 175-210) เกิดที่ยังจิ๋ว เมืองโลกึ่ง จิวยี่เป็นบุคคลที่หาได้ยากยิ่งในประวัติศาสตร์จีน ด้วยมีความสามารถครบครันทั้งบุ๋นบู๊ ทั้งยังเชี่ยวชาญล...

เปิดบันทึกเก่า 1,600 ปี ตอบคำถาม หมอฮัวโต๋ เคย “ผ่าตัดศีรษะ” หรือไม่?...

พงศาวดารสามก๊กจี่บันทึกว่า หมอฮัวโต๋ มียาทำให้ไร้ความรู้สึกอยู่ชนิดหนึ่งมีชื่อว่า “หม่าเฟ่ยซ่าน (ไร้ความรู้สึกแผ่ซ่าน)” นับเป็น “สิ่งแรก” ในโลกของเภสั...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น