เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพุธที่ 17 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี

แท็ก: สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี

เจ้าฟ้าเหม็น กรมขุนกษัตรานุชิต

13 กันยายน 2352 วันสิ้นพระชนม์ “เจ้าฟ้าเหม็น” โอรสพระเจ้าตาก

เจ้าฟ้าเหม็น หรือสมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนกระษัตรานุชิต เป็นพระราชโอรสใน สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี กับเจ้าจอมมารดาฉิมใหญ่ ลูกสาวของเจ้าพระยาจัก...
พระเจ้าตาก พระยาตาก

การสร้างพระราชประวัติ “พระเจ้าตาก” ที่ปฏิเสธเอกสารทางประวัติศาสตร์

พระราชประวัติของ "พระเจ้าตาก" หรือสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ตามที่ปรากฏในเอกสารทางประวัติศาสตร์อย่างเช่น พระราชพงศาวดาร หรือจดหมายเหตุนั้น ระบุไว้ว่าพระ...
ภาพวาด พระเจ้าตาก

ตามติดปฏิบัติการ พระเจ้าตาก “ตามล่า” รัชทายาทกรุงศรีอยุธยา

นับจากวันแรกที่ “พระเจ้าตาก” ยกทัพหนีออกจากกรุงศรีอยุธยาก่อนเสียเมืองนั้น ไม่มีหลักฐานฟันธงได้แน่ชัดว่า ในวันนั้นทรงมีเป้าหมายในการครอบครองราชบัลลังก์...
สมเด็จพระเจ้าตากสิน หรือ พระเจ้าตาก ผู้สถาปนา กรุงธนบุรี

เจาะกลยุทธ์ พระเจ้าตาก “เหาะ” ฟื้นวิกฤตศรัทธา

เมื่อครั้งกรุงศรีอยุธยาแตกใน พ.ศ. 2310 บ้าน วัด วัง เสียหายยับเยิน รัฐบาล “พระเจ้าตาก” ใช้เวลาเกือบตลอดรัชกาล 15 ปี เพื่อเยียวยา ฟื้นฟู และเรียกความศร...

“ท้องกับเจ๊ก” การเมืองราชสำนักฝ่ายใน เรื่องซุบซิบเจ้าหญิงอยุธยาในพระเจ้าตากสินฯ

“การเมือง” ในราชสำนักฝ่ายใน ทุกยุคทุกสมัยในสังคมเจ้านายฝ่ายหญิง คงไม่ใช่การเมืองเพื่อชิงบ้านชิงเมือง แต่มักจะเป็นการชิง “พื้นที่” ความใกล้ชิดกับ “เหนื...

พระเจ้าตาก กษัตริย์ผู้ทรงบำบัดทุกข์บำรุงสุขราษฎร “อิ่มก็อิ่มด้วยกัน อดก็อดด้วยกั...

รัชกาลที่ 5 ทรงอธิบายถึงสถานการณ์ในยุคต้นกรุงธนบุรีว่า "...เหตุด้วยเวลานั้น เจ้ากรุงธนบุรีตั้งตัวเปนเหมือนอย่างเถ้าแก่ฤๅกงสี คนทั้งปวงเหมือนกุลี เถ...

ไฉน “ขุนโลกทีป” โหรหลวงพระเจ้าตาก พยากรณ์ว่า เจ้าพระยาจักรีจะได้เป็นกษัตริย์?...

สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี และพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกฯ ทั้งสองพระองค์มีดวงพระชะตาสอดคล้องสมพงศ์กันมาตลอด เริ่มจากเป็นสามัญชน เข้ารับราชการไต่เต้...

ท่าทีจีนต่อสถานะกษัตริย์ของ ‘พระเจ้าตากสิน’ ใน ‘ชิงสือลู่’ ใช้เวลาสิบปีกว่าจีนจะ...

หลากหลายเอกสารที่บันทึกเหตุการณ์ช่วงของการเสียกรุงศรีอยุธยาจนถึงสมัยธนบุรีมีข้อมูลที่น่าสนใจ น่าศึกษา แตกต่างกันไป 'ชิงสือลู่' เป็นอีกหนึ่งเอกสารที่ให...

สงสัย รัชกาลที่ 1 รออะไรถึง 2 ปี ก่อนขุดหีบศพพระเจ้าตากมาเผา?

ใน “แฟ้มปริศนาพระเจ้าตาก” ยังคงมีเรื่องอยู่เรื่องหนึ่งที่ยังไม่ค่อยมีการถกแถลงกันมากนัก คือเหตุการณ์ในพระราชพงศาวดารรัชกาลที่ 1 เมื่อปีมะโรง จุลศักราช...

ชำแหละตำนานนอกพงศาวดารหลัง พระเจ้าตาก “หนีตาย” หรือ “หนีหนี้” สู่เมืองนครฯ...

ศิลปวัฒนธรรม ฉบับสิงหาคม 2553 ได้กล่าวถึง "ต้นตำนาน" พระเจ้าตาก "ตัวจริง" ไม่ได้ถูกประหารแต่ไปสิ้นพระชนม์ที่เมืองนครศรีธรรมราชไปพอสมควรแล้ว แต่ยังทิ้ง...

“แฉ” แผนใช้พงศาวดาร ยึดกรุงธนบุรี “ซ้ำ”

การทำรัฐประหารเปลี่ยนแผ่นดินจากกรุงธนบุรีไปสู่กรุงรัตนโกสินทร์ สำเร็จราบคาบในคราวเดียวหรือจะให้ละเอียดกว่านั้นคือ ศึกกลางเมืองยึดกรุงธนบุรีสำเร็จเด็ดข...

การล่มสลายของก๊กเจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) สู่ฐานกำลังสำคัญของกรุงธนบุรี

การล่มสลายของกลุ่มอำนาจท้องถิ่นพิษณุโลก น่าจะเป็นผลมาจากสภาพสังคมที่ยังอยู่ในภาวะจลาจลจากสงครามระหว่างศูนย์อำนาจรัฐกรุงศรีอยุธยากับศูนย์อำนาจรัฐกรุงอั...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น