เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันจันทร์ที่ 2 ธันวาคม พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก สถาปัตยกรรม

แท็ก: สถาปัตยกรรม

“สิมอีสาน” ในยุคประชาธิปไตยและความเป็นไทย ช่วงพ.ศ. 2475-2500

ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เป็นครั้งแรกที่รัฐมีนโยบายให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองโดยผ่านผู้แทนราษฎร หากพิเคราะห์ในมิติด้านสภาพเ...

“สิมอีสาน” ในยุคก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ๒๔๗๕

วัฒนธรรมงานช่างประเภทศาสนาคาร สิม หรือที่เรียกกันตามสมัยนิยมยุคปัจจุบันว่าโบสถ์ หรือพระอุโบสถ ตามคำเรียกในวัฒนธรรมงานช่างภาคกลาง หากในรากศัพท์สำเนียงไ...

สถาปัตยกรรมแรกมีโรงพยาบาลในโลก แรกมีโรงพยาบาลในไทย

ถ้าให้บรรยายหน้าตาของ “โรงพยาบาล” หลักที่เราจะเอ่ยถึงมีอะไร ห้องฉุกเฉินที่มีรถเข็นและเตียงเตรียมพร้อมสำหรับผู้ป่วย, โอพีดีที่มีเก้าอี้นั่งจำนวนมากสำหร...

เฮือนแถว-ร้านค้าถึงตึกดิน งานช่างในวัฒนธรรมการค้า สัญลักษณ์แห่งอาณานิคม

วิถีสังคมชาวบ้านอีสาน แต่เดิมใช้วิธีการแลกเปลี่ยนสินค้าไม่ใช่การซื้อขายด้วยเงินตรา จนเมื่อมีการปฏิรูประบบเงินตราสมัยรัชกาลที่ 5 ในแง่พัฒนาการจะเป็นการ...

ปราสาทพระขรรค์กำปงสวาย ในเส้นทางของอาณาจักร-เครือข่ายสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7

พระเจ้าชัยวรมันที่ 7 กษัตริย์เขมรผู้ครองราชย์ท่ามกลางความคลุมเครือของประวัติศาสตร์ในช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ 18 คือผู้สถาปนานครธมศูนย์กลางพุทธศาสนามหายานแ...

ฮือฮา! จีนสร้าง “ถ้ำสลักพระพุทธรูป” เลียนแบบมรดกโลก ด้วยเทคโนโลยีการพิมพ์ 3 มิติ...

เนรมิตถ้ำสลักพระพุทธรูป – ไชน่าพลัส รายงาน ผลงานการใช้เทคโนโลยีการพิมพ์สามมิติ สร้างถ้ำสลักพระพุทธรูปจำลอง จากต้นแบบถ้ำผาหยุนกัง แหล่งมรดกโลกที่ตั้งอย...

“เมรุชั่วคราวนกหัสดีลิงค์เมืองอุบล” มรดกทางงานช่างวัฒนธรรมพื้นถิ่นอีสาน...

นกหัสดีลิงค์ เป็นชื่อเรียกนกใหญ่ชนิดหนึ่งในเทวนิยายว่าอาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ มีลักษณะทางกายภาพคือ รูปตัวส่วนใหญ่มีลักษณะแบบนก แต่มีจะงอยปากเป็นงวงช้าง...

บ้านไม้ที่ชายโขง

เรือนไม้ฝาขัดแตะหลังเก่าที่เมืองเชียงคาน คุณยายท่านหนึ่งเล่าให้ฟังว่า... เจ้าของบ้านเก่าหลังนี้ชื่อ "นายอูบ ชมวงศ์" (ใช้ ศ์ หรือ ษ์ ไม่ทราบได้) อาย...

สะพานพระราม ๘ (อีกครั้ง)

-สืบเนื่องมาจาก ชาตรี ประกิตนนทการ มหาวิทยาลัยศิลปากร เสนอบทวิจารณ์เรื่อง "สะพานพระราม ๘ ทัศนะอุจาดทำลาย "ประวัติศาสตร์" ของ "เมือง"-กรุงเทพฯ" ใน ศิลป...

หอระฆังวัดตะหนุ

หอระฆังวัดตะหนุ ตั้งอยู่ที่ถนนสายเอเชียระหว่างอยุธยา อ่างทอง และสิงห์บุรี อยู่หลักกม. ๘๓ ลักษณะของเครื่องก่อ ฐานชั้นแรกเป็นฐานปัทม์ตกท้องสำเภา ผนังตั...

นภศูล หรือ นพศูล กับความกังขา

เครื่องประดับส่วนยอดของสถาปัตยกรรมไทย ซึ่งพบเห็นกันอยู่ทั่วไปทั้งที่ส่วนยอดของปรางค์ ตามวัด ในพุทธศาสนา หรือส่วนยอดของอาคารปราสาท มหาปราสาทที่มีเครื่...

วัดอังกุลา มีหลวงพ่อดำกับลูกศิษย์

แต่เดิมย่านตลิ่งชันถือเป็นส่วนลี้ลับของบางกอก เพราะอยู่ลึกเข้าไปภายในคลองมีเรือกสวนหนาทึบ อย่างไรก็ตามหากตรวจสอบดูให้ดีแล้ว ย่านดังกล่าวเคยเป็นหนึ่งบน...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น