เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพฤหัสที่ 25 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก สงครามโลกครั้งที่ 2

แท็ก: สงครามโลกครั้งที่ 2

พระแก้วมรกต เคย ถูก อัญเชิญ ไป ถ้ำฤๅษีสมบัติ เพชรบูรณ์

รู้หรือไม่? เคยมีการอัญเชิญ “พระแก้วมรกต” หนีสงครามไปเพชรบูรณ์

ระหว่าง พ.ศ. 2485-2486 เป็นช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 ประเทศอยู่ในภาวะคับขัน กรุงเทพฯ ถูกโจมตีและทิ้งระเบิดอย่างหนักจากฝ่ายสัมพันธมิตร รัฐบาล จอมพล ป...
สะพานข้ามแม่น้ำแคว บ้านท่ามะขาม อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี เชลยเมืองกาญจ์ ตาย ที่นี่ เพราะ อหิวาต์ จากคำกล่าวอ้าง นายพล แห่ง ญี่ปุ่น

นายพลญี่ปุ่นอ้าง เชลยแถบเมืองกาญจน์ตายเยอะเพราะ “อหิวาต์” ใช่ว่าญี่ปุ่นไร้มนุษยธ...

นายพลนากามูระ ผู้บัญชาการกองทัพญี่ปุ่นประจำประเทศไทย อ้าง ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 เชลยศึกเมืองกาญจนบุรีตายเยอะเพราะ “อหิวาต์” หาใช่เพราะ “ญี่ปุ่น” ...
ทหารญี่ปุ่น ทองโกโบริ

ทองโกโบริ ไม่ได้ขุดพบที่เมืองกาญจน์ แต่ได้มาเพราะญี่ปุ่นใช้ “หนี้” ให้ไทย

คนไทยส่วนหนึ่งเคยเชื่อและออกตามหา “ทองโกโบริ” ตลอดจนทรัพย์สมบัติจำนวนมหาศาลของกองทัพญี่ปุ่น ที่ทหารญี่ปุ่นซุกซ่อนไว้ในถ้ำตามเส้นทางรถไฟสายมรณะ ก่อนสงค...
เชลยศึกฝ่ายสัมพันธมิตร สงครามโลกครั้งที่ 2 เช่น เชลยศึกชาวออสเตรเลีย เชลยศึกชาวดัตช์ ใน ค่ายญี่ปุ่น รัฐในอารักขา

เปิดชีวิต “เชลยศึกชาวดัตช์” ในไทย หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สภาพเลวร้ายเหมือนช่วงส...

สงครามโลกครั้งที่ 2 ในไทย มี “เชลยศึกฝ่ายสัมพันธมิตร” หลายหมื่นคน อาทิ เชลยศึกชาวออสเตรเลีย เชลยศึกชาวอังกฤษ เชลยศึกชาวดัตช์ ฯลฯ ที่ “กองทัพญี่ปุ่น” ค...
สุลต่านโมฮัมเหม็ดที่ 5 แห่ง โมร็อกโก การประชุมคาซาบลังกา

สุลต่านโมฮัมเหม็ดที่ 5 แห่งโมร็อกโก ช่วยยิว 250,000 คน พ้นความตายนาซี

ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 นาซีฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวยิวนับล้านคน และหากมีโอกาสที่จะทำลายล้างชาวยิวให้สิ้น นาซีก็ไม่ลังเลที่จะทำ เช่นเดียวกับใน “โมร็อกโก” ...
นักโทษญี่ปุ่น สงครามโลกครั้งที่ 2

เปิดสภาพ “ค่ายบางบัวทอง” ที่กักกันพลเรือนญี่ปุ่น “เชลยศึก” หลังสงครามโลกครั้งที่...

หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 จบสิ้นลงในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2488 (ค.ศ. 1945) ชาวญี่ปุ่นในไทยทั้งที่เป็นทหารและพลเรือน ได้เปลี่ยนจากผู้ที่มีสถานะเหนือกว่า “...
ทหารญี่ปุ่น เชลยศึก ไปยัง พื้นที่ควบคุม หลังถูก ปลดอาวุธ สถานีรถไฟ กรุงเทพฯ หัวลำโพง

ชะตากรรม “ทหารญี่ปุ่น” ในไทย เป็นอย่างไร? หลังแพ้สงครามโลกครั้งที่ 2

สงครามมหาเอเชียบูรพา ที่เป็นส่วนหนึ่งของสงครามโลกครั้งที่ 2 ญี่ปุ่นขอใช้ไทยเป็นเส้นทางเดินทัพไปพม่า โดย “ทหารญี่ปุ่น” ได้ตั้งฐานทัพในไทย มีการนำ “เชลย...
ค่ายเอาชวิตซ์ นาซี

คำให้การวิศวกรแห่งความตาย กลุ่มผู้สร้างเตาเผา-ห้องรมแก๊สในค่ายเอาชวิตซ์ให้นาซี

คำให้การวิศวกรแห่งความตาย กลุ่มผู้สร้างเตาเผา-ห้องรมแก๊ส ใน "ค่ายเอาชวิตซ์" ให้ "นาซีเยอรมัน" การขึ้นมามีอำนาจของพรรคนาซีในเยอรมนี ช่วง ค.ศ. 1933-1...
The Trinity Test การทดสอบ ระเบิดปรมาณู ลูกแรก ของ โครงการแมนฮัตตัน ของ ออปเพนไฮเมอร์ เมื่อวันที่ 16 กรกฏาคม 1945

“การทดสอบทรินิตี” อุบัติการณ์แห่งปรมาณู วินาทีที่โลกเข้าสู่ยุคนิวเคลียร์

16 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 การทดสอบทรินิตี “ระเบิดปรมาณู” ลูกแรกของโลก เกิดขึ้นกลางทะเลทรายในรัฐนิวเม็กซิโก สหรัฐอเมริกา ส่วนหนึ่งของโครงการลับของรัฐบาลสหรั...
พระเจ้าช้างเผือก ยุทธหัตถี พระเจ้าจักรากับพระเจ้าหงสา

เกิดอะไรขึ้นเมื่อภาพยนตร์ “พระเจ้าช้างเผือก” เขียนบทโดยปรีดี พนมยงค์ ฉายที่ฟิลิป...

เกิดอะไรขึ้นเมื่อภาพยนตร์ "พระเจ้าช้างเผือก" เขียนบทโดย ปรีดี พนมยงค์ ฉายที่ฟิลิปปินส์ บทความเรื่องนี้เป็นส่วนหนึ่งจากบันทึกของนายดำริห์ โปรเทียรณ์...
สะพานข้ามแม่น้ำสาละวิน ทางรถไฟสายมรณะ ฝั่งพม่า

ทางรถไฟสายมรณะในพม่า ประวัติศาสตร์ที่โหดร้าย เจ็บปวดไม่แพ้ในฝั่งไทย

เมื่อนึกถึง "ทางรถไฟสายมรณะ" ก็จะคิดถึง "สะพานข้ามแม่น้ำแคว" เป็นหลัก แต่ทางรถไฟสายมรณะไม่ได้สร้างอยู่ทางฝั่งประเทศไทยเท่านั้น แต่ "กองทัพญี่ปุ่น" ยัง...
โรงหนัง ศาลาเฉลิมกรุง

โรงหนังล้นประเทศ! หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ไทยเคยมีโรงหนังถึง 700 แห่ง!

โรงหนัง เป็นสถานที่ให้ความบันเทิงที่ได้รับความนิยมอย่างสูง อย่างน้อยก็ต่อเนื่องนานหลายสิบปี โดยเฉพาะโรงหนัง “สแตนด์ อโลน” ที่ผู้คนยังพอจดจำได้ก็เช่น เ...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น