แท็ก: ศิลาจารึกหลักที่ 1
17 มกราคม วันพ่อขุนรามคำแหงมหาราช ถือวันที่ ร.4 ทรงพบหลักศิลาจารึก
สำนักงานสภาจังหวัดสุโขทัย ได้มีหนังสือเสนอต่อ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี ขอให้มีการกำหนด "วันพ่อขุนรามคำแหงมหาราช" ขึ้น ในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2531 โดยถือวันที่พร...
จารึกพ่อขุนฯ “แหวกประเพณี” เมื่อสระลอย ลอยมาจม อยู่ใน “ศิลาจารึกหลักที่ 1”
มีประเด็นที่ถกเถียงกันทางวิชาการประเด็นหนึ่งจนเป็นที่สนใจของคนไทยทุกระดับ คือการถกเถียงเกี่ยวกับหลักหินชิ้นสำคัญ ศิลาจารึกหลักที่ 1 ว่าทำขึ้นในสมัยใดแ...
ข้อสงสัยการตรวจพิสูจน์ศิลาจารึกหลักที่ 1 ด้วยวิธีวิทยาศาสตร์
“เมื่อนำข้อมูลที่ได้จากการศึกษาวิจัยด้วยวิธีวิทยาศาสตร์มาพิจารณาร่วมกับข้อมูลที่ได้จากการศึกษาประวัติการค้นพบและการเก็บรักษาศิลาจารึกหลักที่ 1 ดูจะเป็...
2 กันยายน 2546 ไทยประกาศ ยูเนสโกยก “จารึกพ่อขุนรามฯ” เป็นมรดกความทรงจำของโลก
รัฐบาลไทยโดยสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการได้ออกแถลงการณ์ลงวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2546 ประกาศว่า คณะกรรมการที่ปรึกษานานาชาติขององค์การการศึกษา วิทยาศาสต...
“นางเสือง” แม่ของคนไทยที่ปรากฏในจารึกประวัติศาสตร์คนแรก แม่ดีเด่นจากศิลาจารึก?...
แม้ว่าประเทศไทยจะเริ่มประกาศให้ มี “วันแม่” เป็นครั้งแรกมาตั้งแต่วันที่ 15 เมษายน พ.ศ. 2493 โดยมติของคณะรัฐมนตรีของรัฐบาลจอมพล ป.พิบูล สงคราม ก็ตาม แต...
คำยืมภาษาเขมรที่ปรากฏในศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง
ศิลาจารึกหลักที่ 1 หรือศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง มีข้อความหรือถ้อยคำจำนวนหนึ่งที่ปรากฏคำยืมจากภาษาเขมร แสดงให้เห็นว่าสุโขทัยรับอิทธิพลจากเขมรในระดับหนึ่...
พ่อขุนรามคำแหง ไม่ได้ทำศิลาจารึกพ่อขุนรามฯ แต่ทำขึ้นสมัย “ลิไทย” ด้วยเหตุผลทางกา...
เมืองสองแควแต่เดิมน่าจะไม่ได้ขึ้นตรงต่อทางสุโขทัยก็ได้ เพราะแม้แต่ ศิลาจารึก ที่กล่าวถึงรัชกาลของพ่อขุนรามคำแหงเอง ก็กล่าวไปในทำนองที่ว่าเมืองสองแควเพ...