เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันอังคารที่ 15 ตุลาคม พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก ศิลปกรรม

แท็ก: ศิลปกรรม

ปูนปั้นฝีมือช่างเมืองเพชร วัดมหาธาตุ

“ปูนปั้น” ฝีมือช่างเมืองเพชร ศิลปกรรมไทยที่ใกล้สูญพันธุ์

ปูนปั้น โดยเฉพาะปูนปั้นฝีมือช่างเมืองเพชร เป็นศิลปกรรมที่ได้รับการยกย่องว่ามีความงดงามไม่แพ้ฝีมือช่างเมืองใด แต่น่าเสียดายที่ล่าสุดศิลปกรรมปูนปั้นที่ว...
ตัวมอม มอม สัตว์หิมพานต์ ประติมากรรม ศิลปะ ล้านนา

ความหมายของ “ตัวมอม” สัตว์ในจินตนาการ สู่ตำนานอันศักดิ์สิทธิ์แห่งล้านนา

ความหมายของ “ตัวมอม” สัตว์ในจินตนาการ สู่ตำนานอันศักดิ์สิทธิ์แห่งล้านนา “ตัวมอม” สัตว์หิมพานต์ ชนิดหนึ่งที่มีลักษณะโดดเด่น มักปรากฏคู่กับวัดและวิถีชี...
วัดพระสิงห์ เชียงราย สิงห์หน้าวัด-นาคราวบันได

สิงห์หน้าวัด-นาคราวบันได เอกลักษณ์งานประติมากรรมในพุทธสถานล้านนา

สิงห์หน้าวัด-นาคราวบันได เอกลักษณ์งานประติมากรรมในพุทธสถานล้านนา เอกลักษณ์ที่เด่นชัดของวัดทางล้านนาไทย คือหน้าประตูวัดจะนิยมปั้น “รูปสิงห์” หรือราชสี...
ศิลปกรรมอยุธยา อิทธิพล ชาวโยเดีย ใน พม่า เช่น จิตรกรรมฝาผนัง วัดมหาเตงดอจี เมืองสะกาย

อิทธิพลศิลปะอยุธยาตามเมืองต่างๆ ในความทรงจำของช่างเชื้อสาย “โยเดีย”

"ศิลปกรรมอยุธยา" ตามเมืองต่างๆ ในความทรงจำของช่างเชื้อสาย "โยเดีย" ปรากฏที่ไหน เป็นอย่างไรบ้าง  การหลอมรวมและแลกเปลี่ยนกันทางวัฒนธรรม เป็นปฏิสัมพันธ์...
พระพุทธรูป สุลตานคัญช์

“พระพุทธรูปสุลตานคัญช์” พระพุทธรูปโลหะศิลปะคุปตะ ใหญ่ที่สุดและมีองค์เดียวในโลก

พระพุทธรูปสุลตานคัญช์ (Sultanganj Buddha) พุทธปฏิมาศิลปะคุปตะ-ปาละ ราว ค.ศ. 500-700 ถือเป็นประติมากรรมโลหะ ศิลปะคุปตะ องค์ใหญ่ที่สุด และมีชิ้นเดียวที่...
โบสถ์ ก. ข. ค.

ตำนาน “โบสถ์ ก. ข. ค.” ชาตินิยมในศิลปกรรมไทยประเพณีภาคกลาง

ตำนาน "โบสถ์ ก. ข. ค." ชาตินิยมในศิลปกรรมไทยประเพณีภาคกลาง เมื่อจอมพล ป. พิบูลสงคราม ก้าวขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ท่านผู้นำก็โหมกระแส "ชาตินิยม" ใ...
วัดป่าสัก ต้นไม้ เจดีย์ สวน

เปิด UNSEEN “วัดป่าสัก” โบราณสถานที่มีปูนปั้นสวยที่สุดในยุคต้นล้านนา

“วัดป่าสัก” ถือเป็นวัดหนึ่งในภาคเหนือ ที่มีความโดดเด่นมากมาย ทั้งในแง่เจดีย์ ปูนปั้นซึ่งต่างได้รับอิทธิพลมาจากศิลปกรรมหลายรูปแบบ ทั้งยังได้ชื่อว่าเป็น...
Talk กำเนิด ศิลปะ สมัยใหม่ หลัง 2475 โดย ศาสตราจารย์ ดร. ชาตรี ประกิตนนทการ และ ผศ. ดร. ศรัญญู เทพสงเคราะห์ ดำเนินรายการโดย ธนกฤต ก้องเวหา ศิลปะ คณะราษฎร

มองผลงานศิลปกรรมยุคคณะราษฎร ชาตรี-ศรัญญู ฉายภาพศิลปะสมัยใหม่ หลัง 2475

ในงาน สโมสรศิลปวัฒนธรรม สเปเชียล ๒๔ มิถุนาฯ วันมหาศรีสวัสดิ์ “พลวัตวันชาติ” วันเสาร์ที่ 22 มิถุนายนย 2567 เวลา 11.00-12.00 น. Talk กำเนิดศิลปะสมัยใหม่...
พระราชวังหลวง และ วัดสำคัญ แห่ง กรุงศรีอยุธยา ในงาน Happy Journey with BEM “มรดกสยาม ๓ สมัย”

“พระราชวังหลวง” และ “วัดสำคัญ” แห่งกรุงศรีอยุธยา ร่องรอยความรุ่งเรืองแผ่นดินสยาม...

ชมความอลังการ-ฟังเรื่องเล่าของ “พระราชวังหลวง” และ “วัดสำคัญ” แห่ง กรุงศรีอยุธยา ใน “มรดกสยาม ๓ สมัย” ความสำคัญของพระราชวังโบราณในฐานะศูนย์กลางการปกคร...
ลายรดน้ำ ลงรักปิดทอง

เบื้องหลัง “ลายรดน้ำ” ประณีตศิลป์ชั้นสูง ทำอย่างไร?

งานเขียน “ลายรดน้ำ” จัดเป็นงานประณีตศิลป์ของไทยที่มีเอกลักษณ์ ความวิจิตรงดงาม และมีการสืบทอดวิธีการตามแบบอย่างโบราณยาวนานมาจนถึงปัจจุบัน พัฒนาขึ้นเพื่...
พระธาตุพนม ศิลปะจาม

“พระธาตุพนม” เจดีย์บัวเหลี่ยมลาวล้านช้าง ปรากฏร่องรอย “ศิลปะจาม”...

พระธาตุพนม เป็นพระธาตุโบราณประดิษฐานพระอุรังคธาตุ หรือกระดูกส่วนอกของพระพุทธเจ้า แม้พระธาตุพนมจะได้รับการบูรณะซ่อมแซมมาหลายสมัย โดยเฉพาะหลังการพังถล่ม...
ลายรดน้ำ ลงรักปิดทอง

“ลงรักปิดทอง” สุดยอดศิลปกรรมอันวิจิตรของไทย ทำอย่างไร?

ในบรรดางานศิลปกรรมชั้นสูงของไทย งาน “ลงรักปิดทอง” ถือเป็นมรดกทางวัฒนธรรมอันทรงคุณค่าและแสดงออกถึงภูมิปัญญากับความรู้ด้านศิลปะอันโดดเด่น ปราณีต มีเอกลั...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น