เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันศุกร์ที่ 29 มีนาคม พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก ศาสนา

แท็ก: ศาสนา

จี้กง

จี้กง หลวงจีนผู้สำเร็จเป็นอรหันต์ แต่ชาวบ้านทำไมเรียกท่าน “พระบ้า”

ภาพยนตร์, ละครทีวี, นิทานพื้นบ้าน ฯลฯ มักจะเล่าเรื่องของ “จี้กง” เป็นหลวงจีนเนื้อตัวมอมแมมสกปรก นุ่งห่มจีวรเก่าๆ ขาดๆ ที่ปะชุนด้วยเศษผ้าไปทั่ว ถือพัดใ...
ภิกษุเจ้าฟ้ามงกุฎ หรือรัชกาลที่ 4 และ พระสงฆ์ ธุดงค์ ฉากหลัง เป็น เจดีย์ ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ สุโขทัย

“พระสงฆ์” กับ “การเมือง” ในสยามเมื่อต้องปฏิรูปสู่รัฐสมัยใหม่ ห้วงตะวันตกล่าอาณาน...

ในช่วงสมัยหนึ่งโครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างพุทธศาสนากับรัฐยุคเก่าในประเทศเพื่อนบ้านถูกเปลี่ยนแปลงโดยประเทศเจ้าอาณานิคม พุทธศาสนา และ พระสงฆ์ ต่างเผชิญ...
นกในป่าหิมพานต์มาฟังธรรมะจากพระพุทธเจ้า ปู่สังกะสา ย่าสังกะสี

ปู่สังกะสา-ย่าสังกะสี มนุษย์คู่แรกของโลกตามคัมภีร์ปฐมกัปป์ ต่างจากกำเนิดโลกในไบเ...

มนุษย์ชายหญิงคู่แรกของโลกนั้น ถ้าถือเอาตามความเชื่อถือของฝรั่งสมัยโบราณ น่าจะได้แก่ อาดัม กับ อีวา ตามที่มีกล่าวถึงในคัมภีร์ไบเบิลของทางฝ่ายคริสต์ศาสน...
วัดโบสถ์มณีศรีบุญเรือง จิตรกรรมฝาผนัง สุรา

การบริโภคสุราในอดีตจวบจนต้นยุครัตนโกสินทร์ แม้ศาสนา-กฎหมายห้าม แต่ยังนิยม!?

จากบันทึกของชาวต่างชาติที่เข้ามาในสมัยนี้มักกล่าวกันว่า คนไทยแต่เดิมไม่ดื่ม "สุรา" เท่าใดนัก ดังในบันทึกของลาลูแบร์ แชรแวส และสังฆราชแห่งเบริธ กล่าวกั...
พุทธทาสภิกขุ กับ ชาวบ้าน ฆราวาส

อาหารมื้ออร่อยที่สุดของพุทธทาสภิกขุ คืออาหารชนิดใด?

ระหว่างเข้าพรรษาปี 2477 พระธรรมโกศาจารย์ หรือรู้จักในนาม พุทธทาสภิกขุ (พ.ศ. 2449-2536) แห่งสวนโมกพลาราม ได้กำหนดที่จะฝึกฝนตนเองอย่างเข้มข้น โดยงดพูดแล...
รัฐสภา สัปปายะ​สภา​สถาน เกียกกาย

ถกปมตั้ง “พระสยามเทวาธิราช” บนยอด “รัฐสภา” เป็นสัญลักษณ์ปชต. หรือศาสนสถาน กันแน่...

การจัดตั้งรัฐสภาที่เกียกกาย ตามแนวคิด “สัปปายะสภาสถาน” มีการออกแบบให้ตั้งเทวรูป พระสยามเทวาธิราช อยู่บนยอดจัตุรัสสีทองบนหลังคาของรัฐสภา นำมาสู่ข้อถกเถ...

อาจารย์คึกฤทธิ์ กับจิตร ภูมิศักดิ์ วินิจฉัย “ใครคือขอม”?

ขอม เป็นชื่อยกย่องที่คนไทยใช้เรียกคนกลุ่มหนึ่งมาแต่โบราณกาลก่อนสมัยกรุงศรีอยุธยา แต่ไม่รู้แน่ว่าเป็นคนกลุ่มไหน. ครั้นถึงสมัยกรุงศรีอยุธยาจึงมีเอกสา...

ไสยศาสตร์จากมุมมองของนวนิยายไทยร่วมสมัย

ปัจจุบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของประเทศพัฒนาไปเพียงใด แต่ความคิดความเชื่อของคนไทยจำนวนไม่น้อย ซึ่งก็รวมถึงของผู้ผลิตและใช้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีด้วย...

แม้ฆราวาสมีศีลน้อยกว่าพระ แต่สามารถเข้าถึงธรรมได้ไม่น้อยกว่าพระ

พระไพศาล วิศาโล อธิบายเกี่ยวกับการแยก "ทางโลก" กับ "ทางธรรม" ออกจากกันอย่างชัดเจน ในปัจจุบัน ซึ่งส่งผลให้บทบาทของฆราวาสกับพระสงฆ์พลอยแยกออกจากกันอย่าง...

พระมหากัสสปะ พระสาวกผู้เลิศในการสมาทานธุดงค์

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 อธิบาย “ธุดงค์” ว่า “องค์ประกอบเครื่องกำจัดกิเลส, ชื่อวัตรปฏิบัติอย่างเคร่งครัดของภิกษุซึ่งเป็นเครื่องกำจัดกิเล...

กรมพระยาวชิรญาณวโรรส : การเทศน์ที่มีเนื้อความเป็นนิทาน-ชาดกมาก ไม่ก่อประโยชน์

สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ทรงมีทัศนคติต่อการแสดงธรรมะที่ปฏิบัติในพระราชอาณาจักรว่าไม่ใช่ลักษณะที่ถูกที่ควรนัก ทรงกล่าวว่าหัวข้อธรรมะสำห...

“รพินทรนาถ ฐากูร” นักคิดผู้ยิ่งใหญ่ กล่าวถึงแก่นแท้ที่เป็นสากลของศาสนา...

13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2456 รพินทรนาถ ฐากูร (ค.ศ. 1861-1941/พ.ศ. 2404-2484) นักคิด นักปรัชญา กวีผู้ยิ่งใหญ่ กลายเป็นชาวเอเชียคนแรกที่ได้รับรางวัลโนเบล สาขา...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น