เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพฤหัสที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ.2568
หน้าแรก แท็ก วัว

แท็ก: วัว

เกวียนอีสาน ของ ชาวอีสาน

“เกวียนอีสาน” ผสานวิถีชีวิตและภูมิปัญญาลีลาช่าง จนมีลักษณะสวยงามกว่าเกวียนภาคอื่...

“เกวียน” ถือได้ว่าเป็นพาหนะซึ่งมีอยู่ทุกวัฒนธรรม โดยเฉพาะในภาคอีสาน ซึ่งแพร่หลายและได้รับความนิยมอย่างมาก จึงทำให้ “เกวียนอีสาน” ที่ ชาวอีสาน ผลิตขึ้น...
ภาพวาด วัวกระทิงหนุ่มพ่อพันธุ์ ของพระราชทาน แด่ พระเจ้ากรุงสยาม

จักรพรรดินโปเลียนที่ 3 ส่ง “วัวกระทิง” เป็นบรรณาการจากฝรั่งเศส ถึงรัชกาลที่ 4...

ตามร่องรอยข้อมูลจักรพรรดินโปเลียนที่ 3 ส่ง "วัวกระทิงหนุ่มพ่อพันธุ์" เป็นบรรณาการจากฝรั่งเศส ถึง รัชกาลที่ 4 ใน ค.ศ. 1861 (พ.ศ. 2404) สยามส่งพระยาศรี...
รัชกาลที่ 9 กิจการฟาร์มโคนมไทย-เดนมาร์ก

“นมไทย-เดนมาร์ก” กำเนิดกิจการฟาร์มโคนมแห่งแรกของประเทศไทย

ฟาร์มโคนมไทย-เดนมาร์ก ตั้งอยู่ที่อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี เป็นชุมชนฟาร์มโคนมแห่งแรกของประเทศไทย เริ่มกิจการอย่างเป็นทางการเมื่อ 63 ปีก่อน (พ.ศ. 25...

เนื้อฮันอู หนึ่งในเนื้อที่ดีที่สุดของเกาหลีใต้ ที่ไม่ใช่ว่าใครก็กินได้

พูดถึงเนื้อวัว ใคร ๆ ก็นึกถึงเนื้อแองกัส หรือเนื้อวากิวสุดอร่อยเป็นลำดับแรก ๆ แต่ใครจะรู้ว่า เนื้อวัวฮันอู (한우) แห่งเกาหลีใต้ก็อร่อยไม่แพ้ใครเหมือนกัน...
คาหนังคาเขา สำนวนไทย

จับได้ “คาหนังคาเขา” สำนวนนี้มีที่มาอย่างไร?

ปศุสัตว์ที่เลี้ยงไว้เป็นแรงงานและบริโภคอย่าง "วัว" และ "ควาย" มีความสำคัญต่อสังคมเกษตรกรรมมาแต่โบราณ มันจึงเป็นสัตว์ที่มีค่ามาก โจรผู้ร้ายจึงมักลักวัว...
จิตรกรรม พิธีแรกนา พระราชพิธีพืชมงคล ใน พระที่นั่งพุทไธสวรรย์

พระราชพิธีพืชมงคล ทำไมใช้ “วัว” ทำนาย ทั้งที่ใช้ “ควาย” ทำนา

สงสัยกันไหม? ใน พระราชพิธีพืชมงคล หรือพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ เหตุใดใช้ พระโค หรือ “วัว” เป็นผู้ทำนาย ทั้งที่สังคมไทยแต่โบราณกาลใช้ “คว...
วัว เนื้อวัว อินเดีย คน ฮินดู

ชาวฮินดูไม่กิน “วัว” เป็นส่วนใหญ่ ไม่ใช่ทั้งหมด เพราะบางส่วนกินกันปกติ!

เป็นที่ทราบกันดีว่า คนอินเดีย ที่เป็น “ฮินดู” มีข้อห้ามเรื่อง “เนื้อวัว” คือ ไม่ฆ่า ไม่กิน เพราะเป็นบาปใหญ่ (ปาตกะ) สาเหตุเนื่องมาจาก “วัว” ถือเป็นสัต...
วัวต่าง

รู้จัก “วัวต่าง” กับวิถีชีวิตทางเหนือ ทำไมถึงเรียกว่า “วัวต่าง”?

“วัวต่าง” ไม่ได้มีลักษณะต่างจากวัวทั่วไปแต่อย่างใด เพียงแต่เติมคำว่า “ต่าง” ต่อท้าย  พจนานุกรมฉบับมติชนอธิบายคำว่า "ต่าง" 1. เป็นคำกริยา บรรทุก, ขนย้า...

“ขี้วัว” (bullshit) กลายเป็นแสลงสากลที่แพร่หลายทั่วโลกได้อย่างไร?

ศัพท์แสลงในประวัติศาสตร์การใช้ภาษาของมนุษย์มีมากมายมหาศาล ในบรรดาศัพท์แสลงที่ใช้กันมากที่สุดทั่วโลกในรอบหลายทศวรรษที่ผ่านมา และมีผู้ใช้ติดปากกันคงไม่พ...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น