เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพฤหัสที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2566
หน้าแรก แท็ก วัฒนธรรม

แท็ก: วัฒนธรรม

นัยของ “พิธีสมรส” ฤๅเป็นผลพวงวัฒนธรรมสร้างชาติ รองรับระบบ “ผัวเดียวเมียเดียว”?...

มโนทัศน์จากตะวันตกว่าด้วยเรื่อง "ผัวเดียวเมียเดียว" ส่งอิทธิพลทางวัฒนธรรมและกระบวนทัศน์ทางการเมืองของผู้นำไทยอย่างมาก ท้ายที่สุดแล้วภายใต้ระบอบรัฐธรรม...

ด่าแบบจีน “เก๋าเจ้ง-บ่มิไก๊” ถึง “เฮงซวย-ฮวนนั้ง” ส่องความเป็นมาคำจีนสยามเชิงดูถ...

ภาษาไม่เพียงแต่เป็นเครื่องมือสื่อสารปฏิสัมพันธ์อันสำคัญของมนุษย์เท่านั้น แต่ยังสะท้อนแง่มุมต่างๆ ได้อย่างหลากหลาย โดยเฉพาะอารมณ์ ภาษาที่ใช้สื่อสารในยา...

สารทขนมบ๊ะจ่าง “นางพญางูขาว” ในนิทานแพ้อะไร? จนต้องแสดงร่างเดิมที่เป็นงู

“วันสารทขนมบ๊ะจ่าง” กับ “วันไหว้จันทร์” มีตำนานที่เหมือนกันก็ 2-3 ประการ 1.ขนมในเทศกาลทั้งสอง (บ๊ะจ่าง-ขนมไหว้พระจันทร์) เป็นที่รู้จักและชื่นชอบของคนจ...

“ขวาก-ลูกมะพร้าว” เครื่องมือพิชิตลิง จากดักวิธีธรรมชาติ ถึงขั้นรุนแรงแบบสุสานควา...

หมายเหตุ: เนื้อหานี้คัดย่อและเรียบเรียงจากบทความ "ขวากดักลิง : สุสานลิง" และ "ลูกมะพร้าวดักลิง : เวทีของลิงหนุ่มสาว" โดย พรศิริ บูรณเขตต์ พิพิธภัณฑ์พื...

กระแส “L-pop” ทำคนไทยคลั่งเพลงลาวหนักหนา ก่อนหน้า K-pop หรือ J-pop นับร้อยปี

ไทยเป็นประเทศเสรีที่เปิดรับการค้า ประเพณี และวัฒนธรรมที่เข้ามาพร้อมกับคนต่างชาติมาเนิ่นนาน ความรู้วิทยาการด้านต่างๆ รวมถึงขนบธรรมเนียมประเพณีหลายประกา...

“ศักราช” คืออะไร? ทําไมเรียก “ศักราช”?

ทําไมจึงเรียกจํานวนปีที่ล่วงไปว่าศักราช? ตามรูปศัพท์ ศักราช หมายถึงราชาแห่งศกะ (คือ ศากยวงศ์แห่งพระพุทธองค์) เพราะการบอกปีในสังคม อินเดียแต่ก่อน นิ...

5 ทศวรรษ Woodstock เทศกาลดนตรีแห่งยุคฮิปปี กับความทรงจำของผจก.วง Nirvana

วันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1969 เทศกาลดนตรีวู้ดสต็อก (Woodstock) เริ่มต้นบรรเลงขึ้นก่อนที่มันจะกลายเป็นเทศกาลดนตรีครั้งประวัติศาสตร์ในฐานะงานแสดงศิลปะและว...

กลุ่มอาการโรคจิตเชิงวัฒนธรรม (อีกครั้ง) ว่าด้วยพฤติกรรม “แล่นทุ่ง” ถึง “โรคหำหด”...

เคยเล่าเรื่องนี้ไปครั้งหนึ่งแล้วโดยใช้ชื่อวา พฤติกรรมอปกติหรือกลุ่มอาการโรคจิตเชิงวัฒนธรรม-คัลเจอร์เบาน์ด ซินโดรม (Culture-Bound Syndrome) ว่ามีหลายปร...

ส่อง “การเที่ยวสาว” แบบชายหญิงฉบับชาวลีซอ สื่อสารรักที่ครกตำข้าวกลางบ้านแบบจริงใ...

แข่ลีซอ หรือ ชาวลีซอ เป็นชนเผ่าหนึ่งของชนชาติโล-โล อย่างเดียวกันกับอะข่า (ก้อ) และลาฮู (มูเซอ) มีถิ่นฐานดั้งเดิมอยู่ทางต้นแม่น้ำสาละวิน ในเขตของมณฑลยู...

มจู, ม็วน ด๊ด, ก็องแก๊บ บ๊ก ฯลฯ เมนูอร่อยในสำรับกับข้าวเขมร

อาหารเขมรนั้นก็เป็นภูมิปัญญาประจำชาติกัมพูชาอย่างหนึ่ง แสดงถึงความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นนั้น วัฒนธรรมการเลือกบริโภค กรรมวิธีการปรุง ...

ตัวตลกในหนังตะลุง (เชื่อกันว่า) มาจากคนที่มีชีวิตอยู่จริง

“…ตัวตลกทุกตัวในหนังตะลุงจะมีนิสัย สำเนียงการพูดที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว เช่น อ้ายเท่ง ไม่ว่านายหนังคนไหนจะเชิดรูปอ้ายเท่ง ก็ต้องพากย์เสียงของอ้ายเท่ง...

จุดอ่อนของคนไทย ในสายตาต่างชาติ นิสัยไทย

ท่านเคยได้ยินได้ฟังมาบ้างหรือไม่ ว่ามีฝรั่งหลายชาติหลายภาษานินทาคนไทยว่า "ขี้เกียจ ขี้ขลาด ขี้โกง" ข้อกล่าวหาดังกล่าวเราทุกคนยากที่จะยอมรับ เพราะเราดู...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น