แท็ก: วัฒนธรรม
แห่นางแมว วัฒนธรรมที่ไม่ได้มุ่ง “ขอฝน” แต่เพื่อสร้าง “พลังชุมชน”
ปีไหน ฝนแล้ง หรือฝนมาล่าช้า เป็นได้เห็นทีวีเสนอข่าวชาวบ้านที่อยู่เป็นต่างจังหวัด เริ่มขาดแคลนน้ำกินน้ำใช้ จึงทำพิธี “แห่นางแมว” ขอฝน ซึ่งก็ได้ฝนตามที่...
ประเพณีอีสาน “แตกบ้าน” ไม่ใช่ “บ้านแตก” พ่อแม่พี่น้องยังปรองดองกันดีอยู่
นิยามคำว่า “แตกบ้าน” หมายถึง การอพยพโยกย้ายถิ่นฐานเพื่อไปหาที่อยู่แห่งใหม่ เนื่องจากที่อยู่เดิมนั้นเกิดเหตุเภทภัยสิ่งอวมงคลต่างๆ ขึ้น ผู้คนอยู่ไม่เป็น...
ชาวสยามเชื่อ “ฟันดำ” ถึงจะดี เพราะอะไรถึงเปลี่ยนรสนิยมเป็นฟันขาว?
“ฟัน” อาวุธคู่กายสำหรับเอาชีวิตรอดของมนุษย์ ใช้ได้ทั้งกัด (ต่อสู้) หรือบดเคี้ยวอาหาร (ดำรงชีวิต) ภาพลักษณ์ของฟันที่เราคุ้นเคยกันดี คือจะต้องเรียงสวยแล...
เส้นทางการก่อตัวของ K-Pop สู่ยุคปังทั่วโลก ดูจุดเปลี่ยนเมื่อเกาหลีส่งออกวัฒนธรรม...
สำหรับโลกวัฒนธรรมร่วมสมัยในปีนี้ ถ้าจะกล่าวว่าเป็นปีของเกาหลีใต้ก็คงไม่แปลกนัก เนื้อหาประเภทภาพเคลื่อนไหว(หนัง/ซีรีส์) ซีรีส์ Squid Game สร้างปรากฏการ...
ตำนานโบราณ “ผีดิบ-ซอมบี้” ฉบับจีน สู่หนังฮ่องกง ฤๅสาบสูญหลัง “ซอมบี้ฮอลลีวูด” บุ...
ตำนานและความเชื่อเรื่องสิ่งลี้ลับเหนือธรรมชาติอยู่คู่กับสังคมมนุษย์มาตั้งแต่โบราณกาล มาถึงยุคแห่งเทคโนโลยีก็ยังปรากฏให้เห็นในรูปแบบต่างๆ ที่เห็นได้ชัด...
หนุ่มสาวชาวกะเหรี่ยง กับโอกาสพบปะกันในงานศพ เพื่อสานเป็นความรัก
การเริ่มต้นความสัมพันธ์ของหนุ่มสาวชาวกะเหรี่ยง ก่อนที่จะพัฒนาไปเป็นความรักนั้น ก็คล้ายกับสังคมทั่วๆ ไปในปัจจุบัน คือ ทำความรู้จักกัน เรียนรู้ดูใจซึ่งก...
ชีวิต “เทิ่ง สติเฟื่อง” ศิลปินทีวียุคบุกเบิก ต้นฉบับคำแปลก “เริ่ดสะแมนแตน-เดทสะม...
"กินกันฉันด้วย ตีกันฉันป่วย อร่อยบอกด้วย ถึงป่วยก็ไป" หากใครมาพูดปรัชญาแปลกๆ ข้างๆ เราอย่างนี้ เราคงจะเคืองหูเป็นกำลัง แต่หากเขาเป็นบุรุษผู้มีใบหน้าระ...
จาก“วันขึ้นปีใหม่”ของสยามประเทศ ถึง“วันปีใหม่”ของประเทศไทย
ตั้งแต่สมัยโบราณดึกดำบรรพ์จนถึงปัจจุบันนี้ “วันปีใหม่” ที่ใช้กันของคนไทย มีการเปลี่ยนแปลงเรื่อยมาก ในเอกสารเผยแพร่แลกเปลี่ยนเรียนรู้วิชาสู่สาธารณะ ของ...
“ปัจจุบันสมัยไทยอีสาน” ในภูมิปัญญาสร้างสรรค์ ท่ามกลางท้องถิ่นนิยม-วัฒนธรรมแห่งชา...
คนอีสานหรือชาวอีสาน ไม่ใช่ชื่อเชื้อชาติเฉพาะ แต่เป็นชื่อสมมุติเรียกคนหลายหลากมากมายในดินแดนอีสาน และเป็นชื่อเรียกอย่างกว้างๆ รวมๆ ตั้งแต่อดีตดึกดำบรรพ...
เจาะลึกเบื้องหลัง จากการร่วมมือระดับอาเซียน สู่ “ศูนย์วัฒนธรรมอาเซียน” แห่งแรกขอ...
เกาะรัตนโกสินทร์ เรียกได้ว่าเป็นศูนย์รวมนิทรรศการ พิพิธภัณฑ์ หรือศูนย์วัฒนธรรมหลายแห่ง และทุกแห่งมีจุดเด่นความน่าสนใจแตกต่างกันไป มีหนึ่งแห่งที่เราอยา...
พระยาอนุมานราชธน ชี้คนไทยนับถือศาสนาบนอารมณ์-ศรัทธา มากกว่าปัญญา-เหตุผล
ในบรรดาข้าราชการที่มีอิทธิพลทางความคิดต่อสังคมไทยทั้งช่วงระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว พระยาอนุมานราชธน ย่อมมีชื่อด้วยอย่าง...
“ถวัลย์ ดัชนี” กับงานศิลป์ที่ถูกกรีด “ยอมรับไม่ได้” ในไทย ถึงคำชี้แนะของศิลป์ พี...
พัฒนาการงานศิลปะในไทยดำเนินต่อเนื่องนับตั้งแต่ยุคโบราณจวบจนปัจจุบัน ในประวัติศาสตร์ศิลป์ของไทยเคยเกิดข้อกังขาในตัวชิ้นงานมาแล้วหลายครั้ง จนในปี พ.ศ. 2...