เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันศุกร์ที่ 29 มีนาคม พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก วรรณคดี

แท็ก: วรรณคดี

ศกุนตลา ท้าวทุษยันต์

“ศกุนตลา” กับวิบากกรรมที่ไม่ได้ก่อ ทุกข์ของหญิงคนหนึ่งที่ถูกฉาบด้วยความ “โรแมนติ...

ศกุนตลา นิทานที่แทรกอยู่ในมหากาพย์ “มหาภารตะ” ของ อินเดีย เรื่องราวของสตรีผู้ต้องฝ่าฟันอุปสรรคมากมายกว่าจะมีชีวิตที่ดีได้ในตอนท้ายของเรื่อง ศกุนตลา...
นางประแดะ แขกระเด่นลันได ระเด่นลันได

“นางประเเดะ” จากเรื่อง “ระเด่นลันได” งามแหวกขนบนางในวรรณคดีไทย...

คิ้วโก่งดังคันศร ใบหน้าใสผุดผ่องดังพระจันทร์ ดวงตางดงามราวตากวาง รูปร่างบอบบางดั่งเทพกินรา และผิวพรรณขาวนวลกระจ่าง ข้อความข้างต้น ล้วนเป็นลักษณะ...
จิตรกรรม อิเหนา รบ กับ ท้าวกะหมังกุหนิง

“ว่าแต่เขา อิเหนาเป็นเอง” อิเหนาว่าใคร แล้วอิเหนาเป็นเหมือนใคร

สำนวน “ว่าแต่เขาอิเหนาเป็นเอง” นั้น พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 อธิบายสำนวนนี้ว่า “ว่าแต่เขาอิเหนาเป็นเอง (สำ) ก. ตำหนิผู้อื่นเรื่องใดแล้วตน...
ฤๅษีแปลงสาร พระรถเมรี

รักรันทด “พระรถเมรี” เรื่อง(เบื้อง)หลังสำนวน “ฤๅษีแปลงสาร”

รักรันทด “พระรถเมรี” เรื่อง (เบื้อง) หลังสำนวน “ฤๅษีแปลงสาร” ปัจจุบัน “ฤๅษีแปลงสาร” เป็นสำนวนไทยที่มักถูกนำมาเปรียบเปรย เปรียบเทียบ กับสถานการณ์เมื...
สาวๆ จิตรกรรมฝาผนัง พระอุโบสถวัดกำแพงบางจาก คลองบางหลวง

“เมรี” หรือ “เมรีขี้เมา” จากเรื่อง “พระรถเมรี” ฤๅชื่อนี้จะมีที่มาจากเครื่องดื่มม...

เคยสงสัยไหม ทำไม “เมรี” จากบทละครเรื่อง “พระรถเมรี” ถึงได้ชื่อว่า “เมรี” เป็นเพียงแค่ชื่อที่ตั้งขึ้นมาเฉย ๆ เพียงเพราะว่าไพเราะ หรือแท้จริงแล้วมีความห...
นางพันธุรัต พระสังข์ สังข์ทอง หกเขยตีคลี พระที่นั่งวโรภาษภิมาน

ผ่าตำนานรัก เมื่อนางเมรีได้พระรถเสนเป็นผัว นางพันธุรัตเลี้ยงพระสังข์เป็นลูก

ผ่าตำนานรัก เมื่อ "นางเมรี" ได้ "พระรถเสน" เป็นผัว ส่วน นางยักษ์ อย่าง "นางพันธุรัต" เลี้ยง "พระสังข์" เป็นลูก การที่ นางเมรี และ นางพันธุรัต เผชิญ...

ก่อนที่ “บวบ” จะสื่อถึง “องคชาต” บวบ (ต้ม) เคยสื่อถึง “เต้านม” มาก่อน...

ช่วงปลายเดือนมกราคม 2566 วลี "ฉันบวบ" กลายเป็นคำยอดฮิตในโลกสังคมออนไลน์ จากกรณี แพรี่ ไพรวัลย์ โพสต์แฉพระสงฆ์รูปหนึ่งในจังหวัดนครสวรรค์มีพฤติกรรมไม่เห...
ลิลิตพระลอ พระเพื่อน พระแพง

“ความอาย” กับ “ความใคร่” ของ “พระเพื่อนพระแพง” แห่งลิลิตพระลอ

ลิลิตพระลอ เรื่องราวความรักของ พระลอ กับสองนาง คือ พระเพื่อนพระแพง มีปูมหลังคือความขัดแย้งระหว่างสองตระกูลของฝ่ายชายและฝ่ายหญิง เกิดเป็น “รักต้องห้าม”...
โองการแช่งน้ำ วรรณคดีไทย มี ภาษา และ วัฒนธรรม ลาว

“โองการแช่งน้ำ” วรรณคดีรากเหง้าความเป็นไทย มีร่องรอยภาษาและวัฒนธรรม “ลาว”

โองการแช่งน้ำ เป็นวรรณคดีไทยที่เชื่อว่าแต่งสมัยต้นกรุงศรีอยุธยา มีความเก่าแก่เป็นอันดับต้น ๆ และถือเป็นรากเหง้าของวรรณคดีไทยเรื่องอื่น ๆ แต่รู้หรือไม่...
ขุนช้าง ขุนแผน เชื่อมโยงกับ แถน แถนฟ้า และ พระพรหม ร่องรอยจาก โองการแช่งน้ำ

อิทธิพลคำลาวในวรรณคดีไทย “ขุนแผน” กับ “แถนฟ้า” หมายถึงพระพรหม!?

หลักฐานที่ยืนยันว่า ภาษาลาว มีบทบาทสำคัญใน วรรณคดีไทย คือคำว่า “ขุนแผน” ใน โองการแช่งน้ำ เพราะเชื่อได้ว่าคำนี้มีรากมาจากภาษาลาว คือ แถน, แถนฟ้า หรือ “...
สุดสาคร ม้านิลมังกร พระอภัยมณี

ฉากรัก “สุดสาคร” ในวัยคะนอง โดนยั่วในชุดฤๅษี แถมล่มปากอ่าว!

อย่างที่ทราบกันว่าวรรณคดีเรื่อง “พระอภัยมณี” ของ สุนทรภู่ มีการดำเนินเรื่องที่กินเวลารวมกันหลายสิบปี คือตั้งแต่ พระอภัยมณี กับ ศรีสุวรรณ ออกไปร่ำเรียน...
จิตรกรรม ผู้หญิง สตรี เล่นเพื่อน นางนพมาศ ตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์

ลอยกระทงกับคำสอน “นางนพมาศ” แฝงคติเตือนสนม อย่า “เล่นเพื่อน” ประณามหญิงรักหญิง?...

"นางนพมาศ" หรือ "ตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์" ถูกตั้งคำถามเรื่องตัวตนจริงของ นางนพมาศ และยุคสมัยที่แท้จริงซึ่งวรรณกรรมชิ้นนี้ถูกผลิตมาโดยตลอด แต่หากพิจารณา...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น