เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันศุกร์ที่ 2 มิถุนายน พ.ศ.2566
หน้าแรก แท็ก วรรณกรรม

แท็ก: วรรณกรรม

พระราชนิพนธ์ของรัชกาลที่ 6 ระหว่างทรงมี “ความรัก”

พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 เสด็จขึ้นครองราชย์ ทรงมีพระชนมายุ 30 พรรษา ทว่ากลับยังไม่ทรงมี “ความรัก” หรือคู่ครองเลย จนพระบรมราชชน...

ขงเบ้ง ได้ภรรยาอัปลักษณ์ ตามที่มักเข้าใจกันจริงหรือ?

เรื่องเกี่ยวกับ "ภรรยา" อัปลักษณ์ของ "ขงเบ้ง" มีอยู่มาก ในหนังสือ “เซียงหยางฉีจิ้วจ้วน-ตำนานเก่าเมืองเซียงหยาง” กล่าวว่า ตอนปลายราชวงศ์ฮั่นพวกแซ่ไช่ (...

ก่อนที่ “บวบ” จะสื่อถึง “องคชาต” บวบ (ต้ม) เคยสื่อถึง “เต้านม” มาก่อน...

ช่วงปลายเดือนมกราคม 2566 วลี "ฉันบวบ" กลายเป็นคำยอดฮิตในโลกสังคมออนไลน์ จากกรณี แพรี่ ไพรวัลย์ โพสต์แฉพระสงฆ์รูปหนึ่งในจังหวัดนครสวรรค์มีพฤติกรรมไม่เห...

เล่าปี่เป็นพระเจ้าอาจริงหรือ? ค้นประวัติศาสตร์ฉบับหลวง ดูนัยจากนิยายสามก๊ก

เล่าปี่ เกิดในครอบครัวชาวบ้าน ฐานะยากจน ต้องสานเกือกทอเสื่อขาย แต่ในนิยายสามก๊กบทที่ 20 เขียนไว้ว่า เมื่อเล่าปี่เข้าเฝ้าพระเจ้าเหี้ยนเต้ “โปรดให้เอาปู...

สำรวจวรรณกรรมจีน “สามก๊ก-ไซ่ฮั่น” ถึงนิยายกำลังภายในแปรสู่วรรณกรรมเขมรอย่างไรบ้า...

บทคัดย่อ บทความเรื่องนี้ต้องการพิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างวรรณกรรมจีนและวรรณกรรมเขมร จากการศึกษาพบว่าวรรณกรรมจีนมีอิทธิพลต่อวรรณกรรมเขมรใน 2 ลักษณะ กล...

สืบค้นที่มาของคติ “เทวดาให้ทุกข์จุกกะหรี่” หมายถึงอะไรกันแน่

ในเรื่องพระอภัยมณี เมื่อศรีสุวรรณได้พบหน้านางสุวรรณมาลี ซึ่งเข้าใจว่าเป็นพี่สะใภ้เป็นครั้งแรก สุนทรภู่ บรรยายไว้ว่า ........   ชำเลืองลักแลชะม้ายดู...

ตามรอย “ขุนเดช” (ตัวจริง) ผู้พิทักษ์โบราณสถานแห่งสุโขทัย ศรีสัชนาลัย...

13 มกราคม 2528 วันถึงแก่กรรม ขุนเดช (ตัวจริง) หรือ "จิระเดช ไวยโกสิทธิ์" ผู้เป็นแรงบันดาลใจในการเขียนเรื่องสั้น ชุด "ขุนเดช" ของสุจิตต์ วงษ์เทศ จิร...

“ขุนช้างขุนแผน” จากนิทานพื้นบ้าน สู่วรรณกรรมราชสำนัก การแต่งเติมเรื่องราวฉบับพิส...

"เสภาขุนช้างขุนแผน" ประกอบด้วย "เค้าเรื่องเดิม" และ "ภาคพิสดาร" ซึ่งมี 3 ภาค "เค้าเรื่องเดิม" เป็นนิทานเรื่องเล่าเกี่ยวกับรักสามเส้าของสามัญชนชาย 2 หญ...

“พระเอกของเราแทบทุกเรื่องมักได้ดีโดยไม่ต้องทำอะไร” หลวงวิจิตรวาทการ มองวรรณคดี...

พลตรี หลวงวิจิตรวาทการ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่อง "พระเอก" ใน รามเกียรติ์ คือ พระราม ขณะปาฐกถาเรื่อง มนุสสปฏิวัติ เมื่อ 16 พฤศจิกายน 2482 ความตอนห...
เกี้ยวผู้หญิง ผู้ชาย พูดคุย

“เพลย์บอย” คุณสมบัติ “พระเอกยุคกรุงเทพฯ” ที่ไม่ค่อยพบสมัย “กรุงศรีอยุธยา”...

"ตัวเอกชายของวรรณกรรมสุนทรภู่มีลักษณะเดียวกับตัวเอกชายในวรรณกรรมต้นรัตนโกสินทร์โดยทั่วไป คือเจ้าชู้ ลักษณะเจ้าชู้มิใช่เป็นของตัวเอกวรรณกรรมอยุธยา พระร...

ผู้หญิงสวย แขน-ขา-คิ้ว-ฟัน-อก ฯลฯ ต้องมีรูปทรงแบบไหน?

ความสวยกับผู้หญิงเป็นของคู่กัน แต่ถ้าให้ตอบว่าเธอสวยอย่างไร อาจเป็นเรื่องยาก และถ้าให้แจกแจง “ความสวย” ของร่างกายแต่ละส่วนยิ่งยุ่งเข้าไปใหญ่ ทว่า ภ...

ไฉนแรงงานไพร่พลลิงของพระราม ต้อง “จองถนน” หนทางสู่กรุงลงกา ไม่ใช้วิธีอื่น?...

ใน รามเกียรติ์ การจะบุกไปกรุงลงกานั้นมิใช่เรื่องยากเย็นอะไรสำหรับฝ่ายพระราม ที่มีไพร่พลลิงที่มีฤทธิ์เดชมากมาย ทั้งสุครีพ หนุมาน พาลี ฯลฯ เพียงแค่ใช้พล...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น