แท็ก: วรรณกรรม
“ระเด่นลันได” ศึกแย่งชิงสตรีมีพันธะ วรรณกรรมล้อขุนนาง-การเมืองสมัยรัชกาลที่ 3...
ในบรรดาวรรณกรรมล้อเลียนสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น เรื่องที่เป็นที่นิยมและรู้จักกันอย่างแพร่หลายที่สุดเห็นจะไม่มีเรื่องใดเกินเรื่อง ระเด่นลันได อันเป็นที่ท...
คำอธิษฐานของ “คุณพุ่ม” กวีหญิงคนกล้า สะท้อนมุมมองเบื้องลึกต่อเจ้านายในราชสำนักสย...
คุณพุ่ม เป็นสตรีที่ไม่ได้อยู่ในกรอบธรรมเนียมดั้งเดิมในช่วงต้นรัตนโกสินทร์ ซึ่งช่วงที่ สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ มีลายพระหัตถ์ถึง สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากร...
“สกา” เกมพนันที่เดิมพันด้วยบ้านเมือง ใน “มหาภารตะ” คืออะไร?
“มหาภารตะ” วรรณกรรมชิ้นเอกระดับมหากาพย์ของอินเดีย มีการกล่าวถึงเกมกระดานหรือ “บอร์ดเกม” ชนิดหนึ่ง ซึ่งมีการเดิมพันหรือพนันกันในระดับ “เอาเป็นเอาตาย” ค...
วรรณกรรม “สามก๊ก” ภาพสะท้อนความเป็น “อนิจจัง” ของประวัติศาสตร์จีนที่ต้อง “แตกแยก...
หากท่านเป็นสาวก - แฟนวรรณกรรม หรือมีโอกาสได้อ่านผลงานของหลอกว้านจง คือ “สามก๊ก” 1 ใน 4 วรรณกรรมอมตะของจีน คงเคยเห็นสำนวนหนึ่งที่ถูกใช้เกริ่นนำเพื่ออาร...
เมื่อ “คึกฤทธิ์” ถูกโดดเดี่ยวทางการเมือง-คนชังเท่าขนาดสนามบิน ก่อนหันมาเขียน “สี...
ในช่วงทศวรรษ 2490 ดวงการเมืองของ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช นักการเมืองคนหนึ่งที่สร้างสีสันให้กับแวดวงการเมืองไทยหลายยุคสมัย กลับสู่จุดตกอับ และถูกอัปเปหิ...
“บัวคลี่” เหยื่อของการชิงดีชิงเด่นระหว่าง “พ่อ” กับ “ผัว” ในขุนช้างขุนแผน
“บัวคลี่” เหยื่อของการชิงดีชิงเด่นระหว่าง “พ่อ” กับ “ผัว” ใน "ขุนช้างขุนแผน"
คนไทยที่เรียนหนังสือในเมืองไทยคงจะไม่มีใครไม่รู้จัก “ขุนแผน” พระเอกเจ้าเ...
ย้อน “พินัยกรรม-คำสั่ง” โจโฉ ทำไมสั่งเสียเรื่องชีวิตบั้นปลายของเมียน้อยตน?...
รัชศกเจี้ยนอาน ปีที่ 25 (ค.ศ. 220) เดือนอ้าย โจโฉ ยอดคนใจฉกรรจ์ป่วยตาย (15 มีนาคม พ.ศ. 763) แต่เขาต่างจากท้าวพระยามหากษัตริย์อื่นตรงที่ไม่เพียงสั่งการ...
“หุ่นพยนต์” มนตราแห่ง “ขุนช้างขุนแผน” ศาสตร์ไม้เด็ดเปลี่ยนหุ่นหญ้าเป็นกองทัพสุด ...
“หุ่นพยนต์” หมายถึง “รูปที่ผู้ทรงวิทยาคมเอาวัตถุมาผูกขึ้นแล้วเสกเป่าให้เป็นเหมือนรูปที่มีชีวิต” โดยคำว่า พยนต์ (อ่านว่าพะยน) หมายถึง “สิ่งที่ผู้ทรงวิท...
สยามสมัย ร.6 เคยมี “สมาคมลับ” ลักษณะเดียวกันกับกลุ่ม “ฟรีเมสัน”
แฟนๆ หนังสือของ แดน บราวน์ คงรู้จัก สมาคมลับ อย่าง “ฟรีเมสัน” (Freemasonry) เป็นอย่างดี โดยเฉพาะเรื่องราวลี้ลับของสมาคมลับแห่งนี้ ซึ่งไม่น้อยเป็นเรื่อ...
เปิดวรรณกรรมชวนเชื่อ “บ็อณฎำตาเมียะฮ์” เล่าสภาพกัมพูชา หลังเป็นพื้นที่ไทยรบเวียด...
การพิมพ์ในประเทศ กัมพูชา เริ่มต้นภายหลังประเทศไทยหลายปี โรงพิมพ์แห่งแรกของ กัมพูชา ซึ่งพิมพ์แต่อักษรโรมันเท่านั้นตั้งขึ้นในปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 เพื่...
“นางเงือก” จากเรื่อง “พระอภัยมณี” มีขาหรือไม่?
"นางเงือก" จากวรรณกรรมเรื่อง "พระอภัยมณี" ของสุนทรภู่ มักมีภาพจำทั้งจากงานจิตรกรรม หรือแม้กระทั่งรูปปั้นที่อำเภอแกลง จังหวัดระยอง ในลักษณะครึ่งคนครึ่ง...
“เจ้าชายน้อย” วรรณกรรมเด็ก แฝงนัยยะการผจญภัย-เรียนรู้ชีวิต ให้เป็น “มนุษย์” ที่ส...
มักเข้าใจกันว่า วรรณกรรมเด็กเป็นวรรณกรรมเฉพาะแต่เด็ก ที่มุ่งเน้นความสนุกสนาน หรือสั่งสอนศีลธรรมอันดีให้กับเด็ก แต่ในอีกมุมหนึ่งวรรณกรรมเด็กก็มีคุณค่าส...