เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันศุกร์ที่ 26 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก ล้านนา

แท็ก: ล้านนา

“พระนางวิสุทธิเทวี” ขัตติยนารีราชวงศ์มังรายองค์สุดท้าย เป็นใครกันแน่?...

ประวัติศาสตร์ล้านนาในเอกสารโบราณเมืองเหนือกล่าวถึงกษัตรีพระองค์หนึ่ง ซึ่งเป็นเชื้อสายพญามังรายองค์สุดท้าย และราชวงศ์มังรายก็สิ้นสุดที่พระองค์ เนื่องจา...

เจ้านางสุคันธา ณ เชียงใหม่ สายใยรักสองราชสำนัก เชียงใหม่-เชียงตุง “รุ่นสุดท้าย”...

วันที่ 15 มกราคม 2546 เจ้านางสุคันธา ณ เชียงใหม่ พระธิดาเจ้าหอคำเชียงตุง เจ้าฟ้าก้อนแก้นอินทรแถลง ผู้เป็นชายาของเจ้าอินทนนท์ ราชบุตรของเจ้าแก้วนวรัฐ เ...

การเมืองเรื่องตุ๊เจ้าในยุคปฏิรูป : กรณีครูบาฝายหินเชียงใหม่

การเมืองของสงฆ์เริ่มมีบทบาทอย่างจริงจังในสมัยรัชกาลที่ 5 โดยเฉพาะช่วงปฏิรูประบบบริหารราชการแผ่นดิน ขณะที่ฝ่ายอาณาจักรอยู่ภายใต้การกำกับดูแลของพระองค์ ...

ความสัมพันธ์ “ชาวจีน” กับผู้ปกครองเชียงใหม่ ผ่านความเชื่อและพิธีกรรมในศาลเจ้าจีน...

บทความนี้จะเน้นความสําคัญของชาวจีนที่คุมเศรษฐกิจของเชียงใหม่ และสาเหตุการตั้งศาลเจ้าจีนกับผู้ปกครอง จะอยู่ในส่วนที่เกี่ยวเชื่อมโยงกับความเชื่อ พิธีกรร...

คำยืมภาษาพม่าในภาษาล้านนา ร่องรอยในอดีตที่ยังหลงเหลือถึงปัจจุบัน

เนื่องด้วยความใกล้ชิดทางภูมิศาสตร์ ล้านนาและพม่าจึงมีการแลกเปลี่ยนและผสมผสานกันทางสังคม วัฒนธรรม วิถีชีวิต ความคิด และคติความเชื่อ มาโดยตลอด ยิ่งในช่ว...

สิงห์หน้าวัด-นาคราวบันได เอกลักษณ์งานประติมากรรมในพุทธสถานล้านนา

เอกลักษณ์ที่เด่นชัดของวัดทางล้านนาไทย คือหน้าประตูวัดจะนิยมปั้นรูปสิงห์หรือราชสีห์ ส่วนที่ราวบันไดขึ้นวิหาร โบสถ์ หรือสถานที่สำคัญอันเป็นที่ประดิษฐานพ...

“ลานช้าง-ลานนา” หรือ “ล้านช้าง-ล้านนา”? เรียกชื่ออย่างไรกันแน่...

ลานช้าง แต่ไหนแต่ไรมา เราเคยได้ยินและได้อ่านแต่คำว่าลานช้าง แม้แต่หนังสือที่อาจถือได้ว่าเป็นตำรับตำราหรือหนังสืออ้างอิงได้ที่พิมพ์ออกมาใหม่ๆ นี้ก็เป็...

การปฏิรูปมณฑลพายัพของสยาม บีบบังคับให้เงี้ยวก่อกบฏ เมื่อ พ.ศ. 2445 ?

สยามปกครองดินแดนล้านนาโดยพยายามควบคุมให้อยู่ในพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ที่กรุงเทพฯ มาตลอด แต่มิได้เข้าไปจัดการปกครองโดยตรง จนกระทั่ง พระบาทสมเด็จพร...

โตยมาหมู่สู เฮาจะปาไปผ่อฝรั่ง : แรกเมื่อคณะมิชชันนารี “ชนผิวขาว” ถึงเชียงใหม่ สม...

ชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในสยามนับตั้งแต่สมัยอยุธยาเรื่อยมา มักบันทึกถึงสิ่งที่พบเห็นต่าง ๆ ในดินแดนแถบนี้ไว้ หนึ่งในนั้นคือ ศ. ดร. แมคกิลวารี มิชชั...

ทัศนคติชนชั้นนำสยามต่อชาว “ลาว” ล้านนา-ล้านช้าง มองเป็นพวกเกียจคร้าน-หัวอ่อน-ล้า...

บทนํา เมื่อพูดถึงคําว่า “ลาว” ในการรับรู้ของคนไทยปัจจุบันอาจมี 2 ความหมาย คือ หนึ่ง ลาวที่เป็นพลเมืองของประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (ต่อไปจะ...
ภาพถ่าย เจ้าอุตรการโกศล (ศุขเกษม ณ เชียงใหม่) หรือเจ้าน้อยศุขเกษม ถ่ายภาพกับเจ้าบัวชุม ณ เชียงใหม่ ผู้เป็นภรรยา (ภาพจากสำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ)

มะเมี๊ยะ : ตำนานรักเรื่องเก่าที่ต้องมองใหม่ เรื่องจริง หรือนิยายอิงประวัติศาสตร์...

ผมรู้เรื่องรักอมตะ “มะเมี๊ยะ-ศุขเกษม” เมื่อตอนเรียนอยู่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นั่นก็ 20 กว่าปีมาแล้ว จากการอ่าน “เพ็ชร์ลานนา” ของ คุณปราณี ศิริธร ณ พัทล...

พระเจ้าเก้าตื้อ : พระพุทธรูปสำคัญของล้านนา

พระเจ้าเก้าตื้อ เป็นพระพุทธรูปสำคัญของล้านนา กล่าวกันว่าเป็นพระพุทธรูปสำริดองค์ใหญ่ที่สุด และงดงามที่สุดในศิลปะล้านนา ประดิษฐานในอุโบสถ วัดบุปผาราม หร...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น