แท็ก: ล้านนา
พระลอ อยู่ล้านช้าง(ในลาว) พระเพื่อน พระแพง อยู่ล้านนา(ในไทย) แม่น้ำกาหลง คือ แม่...
ในวรรณกรรมเรื่องพระลอ มีชื่อสำคัญๆ ถูกดัดแปลงให้เข้ากับเนื้อหานิยายที่แต่งขึ้น ดังนี้
พระลอ อยู่เมืองแมนสรวง คือ เมืองหลวงพระบาง ในลาว ดินแดนล้...
สยามรุกคืบล้านนา ใช้กลวิธีเฉกเช่นนักล่าอาณานิคมชาวตะวันตกในการผนวกล้านนา
เมื่อแนวคิดจักรวรรดินิยมจากนักล่าอาณานิคมเข้าสู่ดินแดนแถบนี้ ผลักดันให้ชนชั้นนำสยามเริ่มเปลี่ยนแนวคิดในการปกครองประเทศราชโดยเฉพาะในดินแดนล้านนา โดยได้...
ไทยเหนือ-ไทยใต้-คนเมือง ร่องรอยความขัดแย้งของล้านนากับสยาม
ความรู้สึกแบ่งแยกระหว่างไทยเหนือ (ล้านนา) และไทยใต้ (สยาม) เริ่มปรากฏในรายงานของข้าหลวงที่ถูกส่งไปกำกับราชการในเมืองเชียงใหม่ตั้งแต่ทศวรรษที่ 2430 สาเ...
วิบากกรรมการเงินเจ้าลำปาง เจ้าหนี้ถึงกับยึดเครื่องประดับพระยศงานศพเจ้าหลวงไปขัดด...
เมื่อสยามได้เริ่มเข้ามาปกครองล้านนาอย่างจริงจังในสมัยรัชกาลที่ 5 นั่นจึงส่งผลกระทบถึงเจ้านายล้านนาโดยตรง ที่แต่เดิมมีอิสระในการปกครองตนเองในระดับหนึ่ง...
รัชกาลที่ 6 ทรงใช้ลัทธิชาตินิยมลบภาพ “ลาวล้านนา” ผ่านการศึกษา
การล่าอาณานิคมเริ่มคืบคลานเข้ามาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 19 โดยชาติมหาอำนาจตะวันตกมีจุดมุ่งหมายเพื่อแสวงหาผลประโยชน์ทางการเมือง เศ...
ทัศนคติชนชั้นนำสยามต่อลาวล้านนา จากดูหมิ่น-เหยียด ก่อนยอมรับเป็นพวกเดียวกัน
ในอดีตคำว่า “ลาว” ใช้เรียกกลุ่มคน 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่อาศัยอยู่เหนือเมืองพิษณุโลกขึ้นไป และกลุ่มคนที่อาศัยอยู่ทางสองฝั่งของแม่น้ำโขง
ทัศนคติของผู้ค...
“ล้านนา” ใต้อำนาจการเมืองพม่ากับสยาม สภาพเศรษฐกิจ-การค้า ต่างกันอย่างไร? (คลิป)...
ล้านนา ในอดีตมีปฏิสัมพันธ์กับทั้งพม่าและสยามแต่ละห้วงเวลาแตกต่างกันออกไป ความสัมพันธ์ทางโครงสร้างอำนาจที่ล้านนาไปเกี่ยวข้องกับทั้งฝ่ายพม่าและฝั่งสยามล...
พระเจ้าพรหมมหาราช ในตำนานล้านนา นัยสำคัญของกษัตริย์สืบสายทางธรรม VS สายเลือด
เรื่องพระเจ้าพรหมมหาราชมีที่มาจากเรื่องราวที่ปรากฏอยู่ในเอกสารโบราณของล้านนา ที่มีชื่อเรียกต่างๆ กัน เมื่อต้นปี 2545 กรมศิลปากรได้รับเรื่องในลักษณะตำน...
เผยสภาพเมือง “เชียงใหม่” เมื่อกว่าร้อยปีก่อน จากบันทึกนายตำรวจอังกฤษ...
ร้อยเอกโทมัส ลาวน์ดส์ เป็นเจ้าหน้าที่ตำรวจอังกฤษ ได้รับแต่งตั้งให้เป็นหัวหน้าคณะเจ้าหน้าที่ตำรวจอังกฤษเข้ามาเจรจาเรื่องปัญหาความปลอดภัยบริเวณพรมแดนและ...
มะเมี๊ยะ : ตำนานรักเรื่องเก่าที่ต้องมองใหม่ เรื่องจริง หรือนิยายอิงประวัติศาสตร์...
ผมรู้เรื่องรักอมตะ “มะเมี๊ยะ-ศุขเกษม” เมื่อตอนเรียนอยู่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นั่นก็ 20 กว่าปีมาแล้ว จากการอ่าน “เพ็ชร์ลานนา” ของ คุณปราณี ศิริธร ณ พัทล...
เหตุใดชาวไทยเหนือ-อีสาน เรียกครกกระเดื่องว่า “ครกมอง” ?
ในสังคมผู้บริโภคข้าว แต่เดิมมาท่านมีกรรมวิธีกะเทาะเปลือกข้าวให้หลุดล่อนออกเหลือแต่เนื้อเมล็ดข้าว โดยการโขลกหรือตำ เจ้าอุปกรณ์เพื่อการนี้ ภาษาไทยกลางท่...
มะละแหม่งไม่มีใครรู้จัก “มะเมียะ” ตำนานรักนี้จริงแท้แค่ไหน หรือเป็นเพียงนิยายอิง...
ในสโมสรศิลปวัฒนธรรมเสวนา หัวข้อ “เบื้องหลังเรื่องรักของมะเมียะ” โดยมีสมฤทธิ์ ลือชัย เป็นวิทยากร และอดิศักดิ์ ศรีสม ดำเนินการเสวนา เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ...