เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพฤหัสที่ 25 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก ราชสำนักฝ่ายใน

แท็ก: ราชสำนักฝ่ายใน

“ท้องกับเจ๊ก” การเมืองราชสำนักฝ่ายใน เรื่องซุบซิบเจ้าหญิงอยุธยาในพระเจ้าตากสินฯ

“การเมือง” ในราชสำนักฝ่ายใน ทุกยุคทุกสมัยในสังคมเจ้านายฝ่ายหญิง คงไม่ใช่การเมืองเพื่อชิงบ้านชิงเมือง แต่มักจะเป็นการชิง “พื้นที่” ความใกล้ชิดกับ “เหนื...
สมเด็จพระพันวัสสาฯ

สมเด็จพระพันวัสสาฯ พระชนมายุยืนยาว ทรงรับสั่งฝากฝังอะไร ไฉนไม่เป็นตามพระราชประสง...

สมเด็จพระพันวัสสาฯ หรือ สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า (พ.ศ. 2405-2498) เป็นเจ้านายฝ่ายในที่มีพระชนมายุยืนยาวพระองค์หนึ่ง  ทรง...

ขันทีแขกในราชสำนักอยุธยา (ของนำเข้า) จากโลกมุสลิม

ปัญหาที่คลุมเคลือ น่าสงสัย คือขุนนางและข้าราชการเหล่านี้ถูกตอนหรือไม่ ถ้าตอนจะถูกตอนที่ไหน ในสยามหรือถูกตอนจากที่อื่น จากข้อมูลจากหลักฐานต่างๆ นำมาปะต...

รัชกาลที่ 5 ทรงเขียน “พินัยกรรม” แบ่งทรัพย์สินให้ “พระภรรยาเจ้า-พระภรรยา”

ในปี พ.ศ.2436 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระชนมพรรษา 40 พรรษา นอกจากงานราชการแผ่นดินที่ทรงบริหารจัดการในฐานะประมุขของประเทศแล้ว ในฐานผู้นำ...

ทำไมรัชกาลที่ 5 เกือบต้องรับสั่งให้โทรเลขตาม“เจ้าจอมเอี่ยม”ไปยุโรป

บรรดากุลสตรีที่ถวายตัวเข้ารับราชการในราชสำนักฝ่ายในนั้น จะนับว่าเป็นผู้มีฐานะมั่นคงได้ เมื่อเลื่อนตำแหน่งเป็น “เจ้าจอมมารดา” เพราะพระเจ้าลูกเธอจะทรงเป...
สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า

สมเด็จพระพันวัสสา ทรงมีพระนามมาก ถึงกับรับสั่งว่า “จนจะจำชื่อตัวเองไม่ได้”

สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า (10 กันยายน พ.ศ. 2405 - 17 ธันวาคม พ.ศ. 2498) นับเป็นเจ้านายที่ทรงมี “พระนาม” มากพระองค์หนึ่ง โ...

วิวัฒนาการของตำแหน่ง “พระสนม” กับบรรดาศักดิ์..“พระสนม” ท่านแรกของไทยคือใคร?

นิตยสาร “ศิลปวัฒนธรรม” ฉบับเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2564 รศ. นพ. จิรวัฒน์ อุตตมะกุล ค้นคว้าและนำเสนอเรื่องของ “ฐานันดรศักดิ์” ทั้งที่เกิดจากชาติกำเนิด หรือกา...

ชีวิตสาวชาววัง ใครว่าสบาย? อาหาร-เครื่องแต่งกายล้วนละเอียดซับซ้อน

ชีวิตความเป็นอยู่ของ "สาวชาววัง" หรือผู้หญิงในพระราชสำนักฝ่ายในนั้น ผู้คนที่อยู่นอกวังมักจะมองไปว่าช่างเป็นชีวิตที่มีความสุขสะดวกสบายน่าอิจฉาเสียนี่กร...

การศึกษา-ความรัก-อาชีพของ “เจ้านายสตรีไทย” หลัง 2475 ทำไมรุ่งยุคร.5 ซบเซาในร.6

สโมสรศิลปวัฒนธรรมเสวนา... “เจ้านายสตรีไทย หลังสมัยเปลี่ยนแปลงการปกครอง” วันพฤหัสบดีที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2562 ศิลปวัฒนธรรมจัดเสวนาในหัวข้อ “เจ้านายสตรีไ...

วิวัฒนาการความเป็นมาของตำแหน่ง “พระภรรยาเจ้า”

ในประวัติศาสตร์ของไทย ราชสำนักฝ่ายใน อาจไม่ค่อยมีการกล่าวถึงมากนัก แต่ก็มิอาจมองข้าม เพราะนี่คือที่รวมของสตรีชั้นสูง ผู้ถวายงานรับใช้ใกล้ชิดพระเจ้าแผ่...
เจ้านาย ฝ่ายใน

ใครคือบุคคลซึ่งรัชกาลที่ 5 “ฝันถึงร่ำไป” เมื่อเสด็จประพาสยุโรป

ข้อความตอนหนึ่งในพระราชหัตถเลขาในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ซึ่งทรงมีมาพระราชทานเจ้าจอมเอิบ ขณะเสด็จประพาสยุโรปครั้งที่ 2 พ.ศ. ...

“ผ้ากับชีวิตในราชสำนักฝ่ายใน” ย้อนที่มาการ “นุ่งโจง” และทำไมต้อง “นุ่งห่ม”...

สโมสรศิลปวัฒนธรรมเสวนา หัวข้อ “ผ้ากับชีวิต ในราชสำนักฝ่ายใน” โดย ธีรพันธุ์ จันทร์เจริญ ผู้อำนวยการสำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี ...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น