แท็ก: รัฐประหาร
แกนนำรัฐประหาร 2490 น้อยใจถูกซ้ำเติม หลังกองทัพสิ้นท่าในสงครามโลกครั้งที่ 2
พลโท พลอากาศโท กาจ กาจสงคราม หรือที่รู้จักกันดีในชื่อ "หลวงกาจสงคราม" กล่าวถึงความอัปยศหลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ของกองทัพไทย ซึ่งนอกจากจะไม่ได้ร...
“อำนาจปืน” = “อำนาจรัฐ” เปิดกระบวนการและปัญหาของการรัฐประหาร
เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้ทำการรัฐประหารยึดอำนาจรัฐบาลรักษาการของนายนิวัฒน์ธำรง บุญทรงไพศาล (ปฏิบัติหน้าที่นายกรัฐม...
ชีวิตในห้วงเผด็จการของ จิตร ภูมิศักดิ์ กับผลงาน และอิทธิพลทางความคิดสู่นักศึกษา
ความฝันของคนชื่อจิตร ภูมิศักดิ์ ก่อนที่จะมาเป็นนักคิดคนสำคัญที่มีผลงานส่งผลต่อความคิดของคนรุ่นหลัง เดิมทีแล้ว ในวัยเด็กเขาหลงใหลเรื่องราวเกี่ยวกับปราส...
เบื้องหลัง “บิ๊กบัง” ผุดไอเดีย “ทำบุญประเทศ” เมื่อ 2550 ทำไมถึงต้องจัด?...
นับตั้งแต่เกิดเหตุระเบิดส่งท้ายปีจอ และเข้าสู่ปีกุนที่ใครๆ ก็ว่าเป็น หมูไฟ หมูระเบิด ท่ามกลางการเมืองที่ร้อนแรง
โดยเฉพาะการปลุกกระแสต้านคลื่นใต้น้ำ...
“สมเด็จพระยอดฟ้า” ในจินตนาการคนทำหนัง ที่ขัดกับหลักฐานที่ปรากฏ
สมเด็จพระยอดฟ้า ยุวกษัตริย์ที่ขึ้นครองราชย์เมื่อมีพระชนมายุได้ 11 พรรษา ตามพระราชประวัติที่ปรากฏในพงศาวดารหลายฉบับ เช่นฉบับพระราชหัตถเลขา หรือฉบับบริต...
รู้จัก “ประตูมงคลสุนทร” พระราชวังหลวงอยุธยา ที่เกี่ยวข้องกับการทำรัฐประหาร 2 ครั...
ในรัชกาลสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ. 1991-2031) พื้นที่ของพระราชวังหลวงยังไม่ได้เชื่อมต่อเป็นผืนเดียวกันกับวัดพระศรีสรรเพชญ์ แนวกำแพงพระราชวังด้านตะวัน...
ค่าจ้างมือปืน-หลังฉากรัฐประหาร 2534 จากปากทูตเมียนมา พล.อ.สุนทร อธิษฐานกับเจดีย์...
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับเมียนมา (พม่า) ตลอดหลายศตวรรษที่ผ่านมาเป็นไปอย่างหลากหลาย แต่หลังผ่านยุคขยายอาณาจักรแบบโบราณไปแล้ว กล่าวโดยรวมได้ว่าทั้งสองปร...
ตามรอยเส้นทางรัฐประหารของกองทัพพม่า ในประวัติศาสตร์พม่า
ตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2021 ที่ พลเอกอาวุโส มิน อ่อง หล่าย ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ทำการรัฐประหารยึดอำนาจรัฐ, ควบคุมตัว นาง ออง ซาน ซู จี ขณะที่ประช...
ตร.รถถัง “ผาด ตุงคะสมิต” เมาช่วงรัฐประหาร 2490 และเหตุถูกถอด “รถเกราะถูกทหารยึดไ...
เรื่อง "อัตชีวประวัติของนายตำรวจรถถัง" (ชื่อบทความเดิมในนิตยสารศิลปวัฒนธรรม ฉบับตุลาคม 2549) นี้ คัดทั้งหมดมาจากเรื่อง "อัตชีวประวัติของพ่อ" ซึ่งเขียน...
เบื้องหลังกบฏแมนฮัตตัน กับเหตุที่ต้อง “เลื่อน” ถึง 5 ครั้ง
‘กบฏแมนฮัตตัน’ ที่เกิดขึ้นในบ่ายวันที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2494 และสิ้นสุดลงตอนเย็นวันที่ 1 กรกฎาคม 2494 เป็นความพยายามของทหารเรือกลุ่มหนึ่งที่เป็นผู้ริ...
“นิติศึกษา” แห่งโรงเรียนกฎหมาย ชุมนุมประท้วงต่อต้านรัฐประหารโดยพระราชกฤษฎีกา...
การประท้วงของนิสิต-นักศึกษาจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในช่วงแรก ๆ เกิดขึ้นในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ราว พ.ศ. 2483 ในการเ...
เทคนิค “รัฐประหาร” ฉบับกรุงศรีอยุธยา วงศ์สุพรรณภูมิยึดบัลลังก์วงศ์อู่ทอง...
"...ศักราช 731 (พ.ศ. 1912) แรกสร้างวัดพระราม ครั้งนั้นสมเด็จพระรามาธิบดีเจ้าเสด็จนฤพาน จึงพระราชกุมารท่าน สมเด็จพระราเมศวรเจ้าเสวยราชสมบัติ ครั้นเถิงศ...