เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพุธที่ 24 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก รัฐประหาร

แท็ก: รัฐประหาร

รัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490 จอมพล ป. พิบูลสงคราม กระทรวงกลาโหม

“มรดกบาป” รัฐประหาร 2490 กับบทบาทใหม่ของทหาร

รัฐประหาร 2490 กับบทบาทใหม่ของทหาร หลังรัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490 คณะรัฐประหารมิได้ให้ความสำคัญต่อปัญหาคอมมิวนิสต์มากนัก พ.ศ. 2492 จอมพล ป. นายกรัฐ...
ขาย สินค้า ประชาธิปไตย โฆษณา

คนไทยเคยเห่อ “ประชาธิปไตย” ขายสินค้าต้องโฆษณาโดยอิงประชาธิปไตย-รัฐธรรมนูญ...

สมัยนี้ใครพูดถึง "ประชาธิปไตย" ขึ้นมาสักหน่อยก็คงไม่พ้นโดนกระแนะกระแหนจากผู้รังเกียจการเลือกตั้งว่าเป็นพวก "ลิเบอร่าน" ด้วยยุคเปลี่ยนผ่านทางสังคมและเศ...
ฮิโรชิมา ระเบิดปรมาณู สงครามโลกครั้งที่ 2

สงครามโลกครั้งที่ 2 อาจไม่จบ หาก “รัฐประหาร” สำเร็จ ก่อนการประกาศยอมแพ้ของจักรพร...

ทหารญี่ปุ่นใน สงครามโลกครั้งที่ 2 ได้ชื่อว่ามีความกล้าหาญเด็ดเดี่ยว อาจเป็นด้วยการปลูกฝังค่านิยม "ยอมตายไม่ยอมแพ้" ทำให้หลายคนยอม "พลีชีพ" เพื่อเล่นงา...
จอมพล ป. พิบูลสงคราม กำลังเดิน ไปสู่ เรือแมนฮัตตัน ในวันเกิดเหตุการณ์ กบฏแมนฮัตตัน

เปิดบันทึกหายากของ จอมพล ป. พิบูลสงคราม เล่าเหตุระทึกกรณีเรือแมนฮัตตัน

กิจกรรมการเมืองของไทยที่ทำกันบ่อยที่สุด นอกจาก “การเลือกตั้ง” รองลงมาก็คงเป็น “การรัฐประหาร” ในการรัฐประหารหลายครั้ง ครั้งหนึ่งที่ตื่นเต้นระทึกขวัญอย่...
ปกหนังสือ ไฮด์ปาร์ค

เปิดนโยบาย “พรรคขบวนการไฮด์ปาร์ค” เมื่อ พ.ศ. 2499 ห้ามทหารยุ่งเกี่ยวกับการเมือง!...

ในการเลือกตั้ง วันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 เป็นการต่อสู้ของพรรคเสรีมนังคศิลาที่นำโดยจอมพล ป. พิบูลสงคราม กับพรรคประชาธิปัตย์ที่นำโดยควง อภัยวงศ์ แต...

2 มีนาคม 1962 “เนวิน” ทำรัฐประหาร เปลี่ยนพม่าเป็น “ฤาษีแห่งเอเชีย”

พม่า หลังได้รับเอกราช (มกราคม 1948) เต็มไปด้วยปัญหาความวุ่นวาย เมื่อ อองซาน ผู้นำในการต่อสู้เพื่อเอกราชของประเทศเสียชีวิตจากการลอบสังหาร อูนุได้ขึ้นมา...

บทบาท “ตึกพระเจ้าเหา” อนุสรณ์สถานรัฐประหารยึดอำนาจครั้งสำคัญในประวัติศาสตร์ไทย...

ตึกพระเจ้าเหา ในพระนารายณ์ราชนิเวศน์ จังหวัดลพบุรี คืออนุสรณ์สถานรัฐประหาร-ยึดอำนาจครั้งสำคัญครั้งหนึ่งในประวัติศาสตร์การปกครองของไทย เมื่อปี พ.ศ. 223...
โคลงภาพ สร้าง กรุงศรีอยุธยา ประกอบ บทความ หน้าร้อน

รัฐประหาร “ครั้งแรก” ของกรุงศรีฯ “ยินยอม” หรือ “ยึดอำนาจ”

รัฐประหาร เกิดขึ้นหลายครั้งในประวัติศาสตร์  “กรุงศรีอยุธยา” ซึ่งในนิตยสารศิลปวัฒนธรรม ฉบับเดือนเมษายน 2554 ปรามินทร์ เครือทอง เขียนบทความชื่อ “กรุงศรี...

โหราศาสตร์กับ (บาง)เหตุการณ์บ้านเมืองไทยหลัง 2475 ฤกษ์รัฐประหาร ถึงโหรจอมพลสฤษดิ...

บรรดาศาสตร์เก่าแก่ต่างๆ โหราศาสตร์ เป็นศาสตร์หนึ่งที่ยังมีการศึกษา, การใช้งาน และการยอมรับจากสังคม ทั้งแพร่หลาย ไปยังบุคคลระดับต่างๆ ตั้งแต่ประชาชนทั่...

เราจะทำตามสัญญา พระยาพหลฯ นายกฯ จากรัฐประหาร ลาออกตามสัญญาที่เคยบอกจะอยู่ 15 วัน...

หลังการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อ พ.ศ. 2475 สยามมีนายกรัฐมนตรีคือพระยามโนปกรณนิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) ผู้ที่ได้รับความไว้วางใจจาก “คณะเจ้า” แล...

“ทหารสเปน” รัฐประหารยึดอำนาจได้ แต่ไม่ถูกรับรอง สุดท้ายผู้นำต้องมอบตัว

เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 1981 พ.ท.อันโตนิโอ เตเฮโร (Antonio Tejero) และสมาชิกกองกำลังรักษาความมั่นคงอีก 200 นายได้บุกไปยังอาคารรัฐสภาคอร์เตสของสเปน โ...

“กบฏ เสธ. ฉลาด” ความพยายามรัฐประหารซ้อนหลัง 6 ตุลาฯ เหลวไม่เป็นท่าเพราะนัดแล้วไม...

หลังเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 ความแตกแยกในกองทัพ และการแบ่งฝักแบ่งฝ่าย ดูมีท่าทีรุนแรงขึ้นมาก คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน (คณะรัฐประหาร มี พลเรือเอก ...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น