แท็ก: รัชกาลที่ 6
เปิดพระราชหัตถเลขาในรัชกาลที่ 6 ทรงสั่งให้เก็บภาษีจากพระองค์
(สำเนาลายพระราชหัตถเลขา)
ที่ 2/49
วันที่ 15 เมษายน รัตนโกสินทร์ศก 131
ถึงเจ้าพระยายมราช
ด้วยแต่ก่อนๆ มาการเก็บภาษีที่ดินและโรงร้าน กรมพระค...
ร.ศ. 130 เหตุฝังพระทัย ร.6 “ไม่ตั้ง” กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถเป็นเสนาบดีกลาโหม
เมื่อพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช เสนาบดีกระทรวงกลาโหม สิ้นพระชนม์ (4 กุมภาพันธ์ 2456) สมเด็จฯ กรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ เสนาธิการทหารบก...
“เมืองใดไม่มีกวีแก้ว เมืองนั้นไม่แคล้วคนหยาม” ความเข้าใจผิดเรื่องพระราชนิพนธ์ในร...
ในหนังสือแบบเรียนภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีการสอนเรื่องการเขียนเชิงวิชาการ ซึ่งต้องมีระบบอ้างอิงเอกสารที่นำมาใช้ประกอบการเขียน โดยนิยมทำกันในสองล...
ตามรอย “ครุฑสัมฤทธิ์โบราณ” จากปราจีนบุรีที่ ร. 6 ทรงใช้ติดยอดธงชัยเฉลิมพล
ราชกิจจานุเบกษา วันที่ 27 มกราคม 2471 เล่ม 45 หน้า 3412-13 บันทึกว่า
“แจ้งความราชบัณฑิตยสภา
เรื่องได้รับของหลวงเพิ่มเติม
ด้วยในระวางแต่วันที...
เมื่ออังกฤษ ทูลเกล้าฯ ถวายยศ “พลเอกพิเศษ” แด่รัชกาลที่ 6
เมื่อเกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 ขึ้น ประเทศต่างๆในยุโรปก็แบ่งเป็น 2 ฝ่าย หนึ่งคือฝ่ายสัมพันธมิตร นำโดยอังกฤษ, ฝรั่งเศส, รัสเซีย หนึ่งคือฝ่ายมหาอำนาจกลางท...
ย้อนรอย แรกมี “ปฏิทินสยาม” ดูภาพปฏิทินเก่าของนักสะสมชั้นปรมาจารย์
การพิมพ์ปฏิทินในเมืองไทย เริ่มมีในสมัยรัชกาลที่ 3 คือมีบันทึกของหมอบรัดเลย์นักสอนศาสนา ระบุว่า เมื่อ ค.ศ. 1842 หรือ พ.ศ. 2385 นั้น มีการพิมพ์ปฏิทินเป็...
โรงเรียน “บุญวาทย์ ยุพราช ปรินซ์รอยแยลส์” กับการศึกษาในหัวเมืองสยามจากลิลิตพายัพ...
การศึกษาเป็นหนึ่งในพระบรมราโชบายของพระมหากษัตริย์ไทยที่ทรงเล็งเห็นถึงความสำคัญมาทุกรัชกาล การศึกษาเป็นแบบแผนมากขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้...
ความในพระราชหฤทัยรัชกาลที่ 6 ต่อการพยายามคุมรายจ่ายของกระทรวงพระคลัง
ใน “ประวัติต้นรัชกาลที่ 6” พระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 (ทรงใช้นามแฝงว่า “ราม วชิราวุธ”) มีใจความส่วนหนึ่งบรรยายถึง...
หลังเหตุการณ์ ร.ศ.130 รัชกาลที่ 6 ทรงตั้ง “กรมทหารรักษาวัง” เพราะทรงไม่วางพระทัย...
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชกรณียกิจทางการทหารหลายกิจการ เช่น การก่อตั้งกองเสือป่า ราชนาวีสมาคมในพระบรมราชูปถัมภ์ จนถึงการนำสยามเข้...
“พ่อตาใจดี” บทละครของชาวบ้าน เด็ดอย่างไร รัชกาลที่ 6 จึงพระราชทานบำเหน็จ
เป็นที่ทราบโดยทั่วกันว่า พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 ทรงมีพระราชนิพนธ์หลายเรื่องจนเป็นที่ประจักษ์ชัด แต่ในขณะเดียวกันก็ทรงพระกรุณ...
มอง “นิติมนตรีสภา” แนวคิดกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ลดเสียงเรียกร้องมี “รัฐสภา”?...
สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เป็นที่รู้จักจากผลงานเชิงประวัติศาสตร์และอีกหลากหลายด้าน ผลงานทั้งพระนิพนธ์และการแสดงปาฐกถาต่างๆ ในรอบกว่า 50 ปีล้วนเป็น...
ย้อนรอย “เรือแหกตา” ของรัชกาลที่ 6 “สวยจนต้องแหกตาดู”
ในภาพนี้ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร รัชกาลที่ 8 และพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร รัช...