เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันเสาร์ที่ 20 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก ภาษา

แท็ก: ภาษา

เจ้าหน้าที่ จับโจร

ความลับของคำว่า “อ้ายเสือ” หมายถึงโจรที่ต้องมีคุณธรรมจริงหรือ?

“อ้ายเสือ” มีความหมายว่าอย่างไร ก่อนอื่นต้องดูถึงสังคมไทยที่มีสำนวน ภาษิต คำพังเพยมากมายที่มีคำว่า “เสือ” เป็นส่วนประกอบ เสือมีคำจำกัดความว่า เป็นชื่อ...
จิตรกรรม นางมณโฑ นอนกับ ทศกัณฐ์ โดยมี หนุมาน ลักลอบ เข้าไปผูกผม

นางมณโฑนมโตข้างไหน

เรื่อง นางมณโฑ นมโตข้างไหน นี่เป็นปัญหาคาใจผมมานานนักหนาแล้ว. เมื่อ 40 กว่าปีก่อนเคยมีคนถามมายังคอลัมน์ปัญหาประจำวันของสยามรัฐว่า “นางมณโฑทำไมนมโตข้า...
ภาพถ่าย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ประทับ นั่ง พระเก้าอี้

“อ้วน-ผอม” เป็นคำหยาบ ใครใช้ทักเจ้านาย หวายทวนหลัง 50 ที!

ปัจจุบันมีให้เห็นอยู่เสมอที่คนไทยทั่วไปจะทักทายกันว่า ผอม ว่า อ้วน แต่ในสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 การทักทายกันว่า อ้วน ...
สตรี สมัย รัชกาลที่ 5

คำอธิษฐานของ “คุณพุ่ม” กวีหญิงคนกล้า สะท้อนมุมมองเบื้องลึกต่อเจ้านายในราชสำนักสย...

คุณพุ่ม เป็นสตรีที่ไม่ได้อยู่ในกรอบธรรมเนียมดั้งเดิมในช่วงต้นรัตนโกสินทร์ ซึ่งช่วงที่ สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ มีลายพระหัตถ์ถึง สมเด็จฯ เจ้าฟ้ากร...
ภาพถ่าย ชาวสยาม ใน บางกอก กรุงเทพฯ

สำเนียง คน “กรุงเทพฯ” (บางกอก) เคยถูกเหยียดว่า “บ้านนอก” สมัยนี้เหยียดสำเนียงอื่...

สำเนียง เป็นอีกหนึ่งอัตลักษณ์ซึ่งสามารถบ่งบอกที่มาที่ไปของแต่ละบุคคลได้ แต่ต้องยอมรับว่าบางครั้ง สำเนียง ของภาษาถิ่นมักถูก "คนจากศูนย์กลาง" ล้อเลียน ห...
สวน กุหลาบ ภาพเขียน บทประพันธ์ Gulistan

“กุหลาบ” คำยืมจากภาษาเปอร์เซีย ที่ดั้งเดิมไม่ได้แปลว่า “กุหลาบ” (?)

คำในภาษาไทยมีคำยืมจากภาษาต่างประเทศอยู่หลายคำ คำจากภาษาเปอร์เซียก็เป็นอีกแหล่งหนึ่งที่คนไทยหยิบยืมเอามาใช้แสดงถึงความสัมพันธ์ และการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธ...
ภาพเขียน ลายรดน้ำ ขี้ วัดพิชยญาติการาม

มานุษยวิทยาว่าด้วย “ขี้” อุจจาระไม่ใช่แค่ของเสีย คือเครื่องมือทางวัฒนธรรมถึงการเ...

บทความของธีรยุทธ บุญมี เรื่อง “มานุษยวิทยาว่าด้วย 'ขี้'” เผยแพร่เมื่อปี พ.ศ. 2550 อธิบายพฤติกรรมของคนไทยและในวัฒนธรรมอื่นที่ใช้อุจจาระหรือสิ่งของที่ร่...

“สยาม” เป็นชื่อที่พวกกัมพูชาใช้หมายถึง “คนป่า”…

“จีนเรียกอาณาจักรสุโขทัยว่า ‘เสียน’ ส่วนคำว่า ‘สยาม’ เป็นชื่อที่พวกกัมพูชาใช้หมายถึง ‘คนป่า’ จากแถบกลางของแม่น้ำ (เจ้าพระยา) ซึ่งมีรูปแกะสลักอยู่ที่ระ...

ที่มาของศัพท์สแลง “อัดถั่วดำ”

"อัดถั่วดำ" ศัพท์สแลง ที่ไม่จำเป็นต้องมีคำอธิบายในวันนี้ ผู้คนส่วนใหญ่ก็เข้าใจความหมายชัดเจนและตรงกัน แล้วที่มาของศัพท์สแลงคำนี้มาจากไหน ทำไมพฤติกรรมก...

ไขรหัสคำ “Museum” จากต้นเค้าภาษากรีก เหตุใดหมายถึงที่สถิตของเทพธิดาทั้งเก้า ?...

ภาษาอังกฤษเรียกพิพิธภัณฑสถานว่า Museum (มิวเซียม) คำนี้มาจากภาษากรีก “Mouseion” ซึ่งประกอบด้วย Mousai + ปัจจัย -on ปัจจัย -on คล้ายปัจจัย -ลัย ภาษาสัน...

จาก “เสียม (สยาม)” สู่ “ไถ (ไทย)” : บริบทและความหมายในการรับรู้ของชาวกัมพูชา...

บทนำ ในการรับรู้ของชาวกัมพูชาคำภาษาเขมรที่ใช้เรียก “คนไทย” และ “ประเทศไทย” มี 2 คำ คำแรกคือ คำว่า “เสียม” (ออกเสียงว่า “เซียม” ตรงกับคำว่า “สยาม”) คำ...
ประตูเมือง เมืองเชียงใหม่

สุจิตต์ วงษ์เทศ : ล้านนา

ล้านนา หมายถึง ดินแดนกว้างใหญ่ไพศาลบริเวณที่เป็นภาคเหนือของประเทศไทยทุกวันนี้ โดยมีเมืองเชียงใหม่เป็นศูนย์กลางมาแต่สมัยแรกๆ และเป็นชื่อที่มีอยู่คู่กัน...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น