เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันเสาร์ที่ 20 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก ภาษา

แท็ก: ภาษา

รัชกาลที่ 4 พระราชหัตถลเขา ทรงอักษร อริยกะ

รู้จัก “อริยกะ” อักษรที่รัชกาลที่ 4 “ทรงประดิษฐ์” อักษรนี้คืออะไร ทำไมชื่ออริยกะ...

รู้จักอักษร "อริยกะ" อักษรที่ รัชกาลที่ 4 ทรงประดิษฐ์อักษรนี้คืออะไร ทำไมชื่ออริยกะ ? อักษร "อริยกะ" คืออะไร? อักษร "อริยกะ" เป็นรูปแบบตัวอักษรประเภ...
ไต้ฝุ่น

เปิดข้อสันนิษฐาน “ไต้ฝุ่น” คำนี้มาจากหลายที่ทั่วโลก?

ไต้ฝุ่น คำนี้มาจากหลาย "ภาษา" ทั่วโลก? ไต้ฝุ่นจากความหมายที่ราชบัณฑิตยภาบัญญัติไว้ หมายถึง ชื่อพายุหมุนเขตร้อนที่เกิดในบริเวณเหนือมหาสมุทรแปซิฟิกท...
ลาว ชาวบ้าน ล้านนา ตีข้าว ชาวนา

คำว่า “ลาว” มาจากไหน? “คนเมือง” ภาคเหนือ-ล้านนา ถูกเรียกว่าลาวก่อนคนอีสาน-สปป.ลา...

ไม่มีใครทราบว่าคําว่า “ลาว” ที่หมายถึงมนุษย์เผ่าหนึ่งนั้น มีใช้ในภาษาพูดมาตั้งแต่เมื่อไร แต่ที่ปรากฏเป็นลายลักษณ์อักษรนั้น มีอยู่แล้วตั้งแต่สมัยสุโขทั...
แม่ครัวหัวป่าก์ ตำรากับข้าว

แม่ครัวหัวป่าก์ ตำรากับข้าวเล่มแรกของไทย ป่าก์ ก็คือ ปาก ไม่ใช่ หัวป่า หัวดง เมื...

แม่ครัวหัวป่าก์ ตำรากับข้าว เล่มแรกของไทย "ป่าก์" ก็คือ "ปาก" ไม่ใช่ หัวป่า-หัวดง เมืองไหน เรื่องราวความเป็นมาของคำ "แม่ครัวหัวป่า" ที่ว่ามีกำเนิดม...
หวีเสนียด โบราณ จากงาช้าง พร้อม คาถาปัดเป่าเหา จากอักษรแทนเสียง

ประโยคจากอักษรแทนเสียงเก่าแก่ที่สุดในโลก “คาถาปัดเป่าเหา” บนหวีเสนียดงาช้าง!

ปลาย ค.ศ. 2022 นักโบราณคดีอิสราเอลพบ “หวีเสนียด” โบราณ ทำจากงาช้าง พร้อมจารึกที่เขียนด้วย อักษรแทนเสียง (Alphabet) แบบเต็มประโยคที่สมบูรณ์และเก่าแก่ที...
คนชง โอเลี้ยง กาแฟดำ

“โอเลี้ยง” กาแฟขวัญใจคนไทย มีที่มาจากไหน แตกต่างอย่างไรจาก “โอยั๊วะ-โกปี๊”?

“โอเลี้ยง” ถือเป็นเครื่องดื่มสีดำผสมคาเฟอีนที่ทำให้ผู้ลิ้มลองต้องตาตื่นทุกครั้งเมื่อยกดื่ม ด้วยรสชาติอันเป็นเอกลักษณ์ไม่เหมือนใคร ทั้งยังอยู่คู่คนไทยม...
เครื่องพิมพ์ดีด

เบื้องหลังเหตุสร้างเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยครั้งแรก ไม่มีอักษร “ฃ-ฅ”

"เครื่องพิมพ์ดีด" เป็นนวัตกรรมการสื่อสารอย่างหนึ่งที่สะท้อนพัฒนาการทางภาษา เช่นกรณีการสร้างเครื่องพิมพ์ดีดภาษาไทยยุคแรกๆ ที่ไม่มีพยัญชนะ 2 ตัว นั่นคือ...
ภาพ ชาวบ้าน จิตรกรรม วัดเขียน จังหวัดอ่างทอง

“เฉ่ง” คำจีนที่ไม่ได้มีต้นกำเนิดจากการ “ด่า” แต่มาจากการเก็บภาษีช่วงต้นรัตนโกสิน...

“เฉ่ง” ตามที่พจนานุกรม ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 อธิบายไว้นั้น เป็นคำกริยา มีความหมายว่า ชำระเงินที่ติดค้างกันอยู่และด่า ว่า หรือทำร้ายร่างกาย แต่ถ้าหา...
ตำรวจ ใส่ชุด สี กากี

กากี คำนี้มีที่มาอย่างไร ทำไมถึงเรียก สีกากี สู่สีเครื่องแบบ

กากี เป็นคำที่มักคิดกันอยู่สองความหมาย ไม่คิดถึงสีเครื่องแบบข้าราชการ ก็คงคิดถึงนางกากี (กับครุฑ) แต่หลายคนคงใคร่จะทราบว่า "กากี" ในภาษาไทยมีที่มาอย่า...
นับ ศักราช

“ศักราช” คืออะไร? ทําไมเรียก “ศักราช”?

ทําไมจึงเรียกจํานวนปีที่ล่วงไปว่า ศักราช ? ตามรูปศัพท์ ศักราช หมายถึง ราชาแห่งศกะ (คือ ศากยวงศ์แห่งพระพุทธองค์) เพราะการบอกปีในสังคมอินเดียแต่ก่อน ...
พิธา ขอบคุณ คะแนนเสียง

เปิดต้นตอคำว่า “ลุ้น” กิริยาบ่งบอกอาการตื่นเต้นเร้าใจที่คนไทยใช้เป็นประจำ

คำว่า “ลุ้น” ที่คนไทยใช้กันอย่างกว้างขวางในปัจจุบันนี้ หมายถึง เอาใจช่วย ว่าแต่คำนี้เป็นคำที่มาจากภาษาอะไรกันนะ? จากบทความ “คำจีนสยาม : ลุ้น” ของวร...
น้ำพริกกะปิ

รู้หรือไม่? “ทะแม่ง” คำฮิตติดปากคนไทยมีที่มาจากชื่อกะปิมอญ

“ทะแม่ง” หรือ “ทะแม่ง ๆ” หากค้นในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ปี 2554 จะพบว่าแปลได้ 2 ความหมาย คือ มีกลิ่นหรือรสผิดปกติ และมีลักษณะลับลมคมในหรือมีอะไร...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น