เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพฤหัสที่ 25 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก ภาษา

แท็ก: ภาษา

ไข่เจียว เจียว พรหมลิขิต โป๊ป เบลล่า

คนใดที่ถูกเจียว! “ไข่เจียว” เมนูกินง่ายขวัญใจคนไทย “เจียว” ในที่นี้คือภาษาอะไร

ใน “พรหมลิขิต” ละครสุดฮิตติดเทรนด์ที่ฉายผ่านช่อง 3 ปรากฏฉากที่ พุดตาน (รับบทโดย เบลล่า ราณี แคมเปน) กำลัง “เจียว” ไข่เจียวจนฟูกรอบ หอมฟุ้งกลิ่นตลบอบอว...
โอเค ละคร พรหมลิขิต ช่อง 3

ทันยุคนี้ไหม? คำว่า “โอเค” ย่อมาจาก “โอเค ซิกาแร็ต”

หลายปีมานี้ หลายคนพูดว่า “โอ” แทน “โอเค” ที่หมายถึงตกลงกันมากขึ้นเรื่อยๆ และในละคร "บุพเพสันนิวาส" และ "พรหมลิขิต" ก็มีการนำคำว่า “โอเค” ไปใช้เช่นเดีย...
โตนเลสาบ ทะเลสาบ ทะเลน้ำจืด ชาวเขมร กัมพูชา ชาวประมง

เหตุใดเรียกทะเลน้ำจืดว่า ทะเลสาบ ทําไม “ทะเล” ต้อง “สาบ” ?...

ทะเลสาบ แม้ไม่แปลความก็คงทราบกันอยู่โดยทั่วไปว่า หมายถึง ทะเลน้ำจืด แต่อาจมีบางท่านคิดไปว่า เหตุที่ จืด นั้น เพราะเป็นทะเลที่ถูก สาป กระมัง จึงได้ชื่อ...
จำปา ลั่นทม

จำปา (ลั่นทมสยาม) เข้าสู่ไทยอย่างไร ค้นหลักฐาน ไฉนกลายเป็น “ลีลาวดี”...

พืชในบ้านเรานี้มีหลากหลายชนิด บางชนิดมีหลายชื่อเรียก และปฏิเสธได้ยากว่า "จำปา" แห่งชมพูทวีปนั้นส่งอิทธิพลต่อวัฒนธรรมในแถบเอเชีย มีชื่ออย่างจำปามอญ จำป...
ทุเรียน

ทำไมเรียก “ทุเรียน”? และการเล่าขานผลไม้ที่กลิ่นเหม็นเหมือน “ขี้ซำปอกง”

ปริวัฒน์ จันทร เขียนเล่าเรื่องทุเรียนไปเมืองจีนกับซำปอกง ซึ่งเป็นคำบอกเล่าเก่าแก่ว่า คำว่า “ทุเรียน” ในภาษาจีนกลาง เจิ้งเหอ เป็นคนตั้งชื่อว่า “หลิวเหล...
แม่น้ำ ปราจีนบุรี บริเวณสะพานบ้านสร้าง

สืบที่มาชื่อเมือง “ปราจีนบุรี” เจาะคำต้นตออย่าง “บางคาง-ประจิม” หรือ “ปราจิน” !?...

คำว่า “ปราจีน” เป็นคำภาษาสันสกฤต แปลว่า “มีในทิศตะวันออก” คำนี้เดิมเรียกว่า “ประจิม” หมายถึงทิศตะวันตก ตามศัพท์ “ปราจีนบุรี” จึงหมายถึงเมืองในทิศตะวัน...
หญิงไทย หนังสือเล่าเรื่องกรุงสยาม คนไทย ไทย ไท คนไท

“ห่าจก-ห่ากิ๋นตั๊บ” ส่องวัฒนธรรมคำด่าตระกูล “ห่า” จากเหนือจรดใต้ อดีตถึงปัจจุบัน...

ห่าจก ห่ากิ๋นตั๊บ ส่องวัฒนธรรม "คำด่า" ตระกูล "ห่า" จากเหนือจรดใต้ อดีตถึงปัจจุบัน ทำไมคำว่าห่าถึงกลายเป็นคำด่าไปได้ เป็นเรื่องน่าสนใจทีเดียวเมื่อน...

อีโมะ : มาจากภาษาผู้ไท? ไฉนจึงหมายถึงของลับสตรี

อีโมะ : มาจากภาษาผู้ไท? ไฉนจึงหมายถึง "ของลับสตรี" อ่าน "รายงานจากสำนักศิลปวัฒนธรรม" ที่คณะกรรมการผู้จัดทำ "พจนานุกรมฉบับมติชน" ชี้แจงในศิลปวัฒนธรร...
ตราแผ่นดิน รัสเซีย นกสองหัว

ข้อสันนิษฐาน สำนวน “นกสองหัว” มาจากตราแผ่นดินของรัสเซีย หรือสัญลักษณ์ของฟอลคอน?

อาจารย์ล้อม เพ็งแก้ว ได้เคยเล่าไว้ในศิลปวัฒนธรรม เมื่อสิบกว่าปีก่อนว่า “นกสองหัว” สำนวนไทย ที่แปลว่า การทำตัวฝักใฝ่อยู่สองฝ่ายที่ไม่ค่อยถูกกัน เปรียบว...
รถเก๋ง รถยนต์ สมัยรัชกาลที่ 6 บริเวณ ถนนเจริญกรุง สี่กั๊กพระยาศรี

คนไทยคุ้นกับคำ “รถเก๋ง” แต่สมัยก่อนยังมีคำว่า “รถกูบ”…รถกูบ คืออะไร?...

คำเรียกพาหนะ หรือ รถ ที่คนไทยสมัยใหม่คุ้นเคยอย่างดีย่อมต้องมีคำว่า รถเก๋ง แต่สมัยก่อนมีคำที่เลิศไม่แพ้กันอย่าง รถกูบ … รถกูบ คืออะไร? รถเก๋ง คำนี้เรา...
สัพะ พะจะนะ พาสา ไท พจนานุกรม สังฆราชปาลเลอกัวซ์

เปิดราก “บัดสี-บัดเถลิง-บัดซบ” 3 คำนี้มาจากไหน ไม่ใช่คำไทยแท้หรอกหรือ?

“บัดสี-บัดเถลิง-บัดซบ” เมื่อมีคนอุทานถึง 3 คำนี้ คงเข้าใจได้ทันทีว่าผู้พูดน่าจะหมายถึงเรื่องน่าอาย ไม่เหมาะสม ประสบเหตุโชคร้ายหรือชีวิตไม่เป็นไปดังหวั...
ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี

“ฯพณฯ” ที่อ่านว่า “พณะท่าน” มาจากคำว่าอะไร-ย่ออย่างไร? ทำไมมี “ฯ” ด้านหน้า-หลัง

คำว่า ฯพณฯ ที่อ่านว่า “พณะท่าน” มาจากคำว่าอะไร-ย่ออย่างไร? ทำไมมี “ฯ” ด้านหน้า-หลัง เมื่อครั้งผมยังรับราชการอยู่นั้น มีอาจารย์ภาษาไทยท่านหนึ่งขอให้...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น