เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันเสาร์ที่ 20 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก ภาษา

แท็ก: ภาษา

“หัวลำโพง ฝรั่งเรียกไม่ชัด ไทยพลอยเรียกตามว่า วัวลำพอง” พระราชวิจารณ์ศัพท์ไทย-ฝร...

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงมีพระราชหัตถเลขาถึงเจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) เมื่อครั้งยังเป็นที่พระยาไ...

ร้อง “อุ๊ย” สะดุ้งทำไม มอง “ครางชื่ออ้ายแน-ประเทศกูมี” วัฒนธรรมในเนื้อเพลง พลัง ...

สื่อบันเทิงรอบหลายทศวรรษที่ผ่านมา ดูเหมือนเป็นสิ่งน่ามหัศจรรย์อยู่บ้าง เมื่อคนฟังจำนวนหนึ่งที่ไม่ทราบความหมายของเนื้อร้องในบทเพลงแต่พวกเขาสามารถซึมซับ...

กำเนิดพจนานุกรมในโลก กำเนิดพจนานุกรมในไทย

พจนานุกรม คือ “น. หนังสือว่าด้วยถ้อยคำในภาษาใดภาษาหนึ่ง เรียงตามลำดับตัวอักษร โดยทั่วๆ ไปจะบอกความหมายและที่มาของคำเป็นต้นด้วย.” (พจนานุกรม ฉบับราชบัณ...

ว่าด้วยคำ “อารยะ”

อารยะ แปลว่า เจริญ ดังมีใช้ในคำว่า อารยชน อารยธรรม อารยประเทศ เป็นต้น คำที่ตรงข้ามกับ อารยะ คือ อนารยะ แปลว่า ไม่เจริญ ป่าเถื่อน ในภาษาไทยนั้น เ...

นัยยะการพัฒนาคำ จาก “ชาวบ้าน” สู่ “พลเมือง” ผลจากการขยายตัวโครงสร้างสังคม-เศรษฐก...

การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยมีมาอย่างยาวนาน โดยที่ช่วงสำคัญคือทศวรรษ 2500 ที่ได้รับเงินอุดหนุนจากประเทศสหรัฐอเมริกา ในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ส่...

ตุ๊กตา “เสียกบาล” หรือ “เสียกระบาน” แบบไหนที่ใช้เซ่นผี

กบาลเป็นของสูง ฉะนั้นการพิจารณาวลี เสียกบาล จึงเป็นการกล่าวถึงของสูง นับเป็นเรื่องหมิ่นเหม่ต่อความเรียบร้อยหรือความละเอียดอ่อน อันเป็นเรื่องตรงกันข้าม...

“โอม” กับ “โอมเพี้ยง (หาย)” มีความหมายอย่างไร

เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2548 สหายจากสำนักวัดกลางบางแก้ว นครปฐม ได้เชิญพระคเณศที่สร้างจากสำนักนี้มาให้ผมบูชาองค์หนึ่ง ผมได้จัดที่บูชาไว้ใกล้ๆ กับที่นั่งเ...

นัยจากความหมายของคำว่า “ราษฎร” ภาษาการเมืองในยุคสมัยการปฏิวัติสยาม

ในช่วง “รอยต่อ” ระหว่างสมัยรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์กับสมัยแรกเริ่มรัฐประชาชาติ คำว่า “ราษฎร” หาได้เป็นเพียงคำธรรมดาๆ ที่ใช้เรียกแทนชนชาวสยามเท่านั้น ทั้...

ถอดความหมายคำว่า “ดนตรี” ที่แต่เดิมไม่ได้หมายถึงการดีดสีตีเป่า

เดิมทีดูเหมือนคนที่พูดภาษาตระกูลไต-ลาว เคยเรียก ดนตรี ว่า “การร่ายรำทำเพลง” หรือการ “ดีดสีตีเป่า” คำว่า “ดนตรี” น่าจะเป็นคำที่เข้ามาภายหลัง, เพราะเป็...

“มกรา-กุมภา-มีนา(มีนา)-เมษา” ชื่อเดือนแบบไทยมาจากไหน ทำไมเรียก วันจันทร์-อาทิตย์...

คำที่คนไทยใช้เรียกชื่อวัน ชื่อเดือนต่างๆ ตั้งแต่วันจันทร์ จนถึงวันศุกร์ และเดือนมกราคม จนถึงเดือนธันวาคม เหล่านี้ เคยสงสัยไหมว่า มีที่มาจากไหนกันบ้างก...

ภาษาอังกฤษ รู้-ไม่รู้ มีผลต่อความก้าวหน้าในราชการ ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5

แม้การเรียนภาษาอังกฤษที่เริ่มขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 จะยังไม่แพร่หลายนัก แต่ “ภาษาอังกฤษ” ก็เริ่มเป็นเงื่อนไขในความก้าวหน้าในราชการ ดังจะเห็นได้จากกรณีต...

10 พจนานุกรมแปลไทยเป็นไทย เล่มสำคัญของประเทศ

พจนานุกรม หรือหนังสือสำหรับค้นความหมายของคำเรียงลำดับตามตัวอักษร การทำพจนานุกรมฉบับแปลไทยเป็นไทย มีพัฒนาการตั้งแต่การเริ่มเก็บรวบรวมคำโดยไม่มีระเบียบก...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น