เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันเสาร์ที่ 20 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก ภาษาไทย

แท็ก: ภาษาไทย

แบบเรียน สระไอ ไม้มลาย

ไขข้อสงสัยเหตุใดเรียก “สระไอ” ว่า “ไม้มลาย” คำว่ามลายมีที่มาจากไหน?

ผมได้เห็นลายพระราชหัตถเลขาของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว (ในหนังสือ “700 ปี ลายสือไทย” ของศาสตราจารย์กำธร สถิรกุล) ที่ทรงเรียก สระไอ ว่า ไม้ม...
แบบเรียน ภาษาไทย คำยืมภาษาจีน ไม้ตรี ไม้จัตวา

ไม้ตรี ไม้จัตวา : อิทธิพลภาษาจีนในภาษาไทย

ไม้ตรี ไม้จัตวา ใน “คำยืมภาษาจีน” อิทธิพลภาษาจีนในภาษาไทย คำยืมภาษาจีน มีการนำมาใช้ทับศัพท์จนเป็นคำคุ้นเคยในชีวิตประจำวัน เช่น ยืมคำศัพท์ฮกเกี้ยน ไ...
สรง สรงน้ำ สรงน้ำพระ

“สรง” ใน สรงน้ำพระ คำจากภาษาเขมร

“สรง” ใน สรงน้ำ สรงน้ำพระ เป็นคำยืมมาใช้จาก “ภาษาเขมร” คำว่า “สรง” เป็นคำกริยา หมายถึง อาบน้ำ รดน้ำ ประพรม สำหรับใช้กับพระสงฆ์หรือเจ้านาย เช่น สรงพ...
พยัญชนะไทย ฌ กระเฌอ

จาก “ฌ เฌอ” เมื่อร้อยปีก่อน ถึง “ฌ กระเฌอ” พยัญชนะไทยที่มาจากเขมร

คำพูดที่ใครยินกันบ่อยคือ “ภาพภาพหนึ่งแทนอักษรนับหมื่นคำ” หากวันนี้จะชวนมองในมุมของตัวหนังสือบ้าง เพราะตัวอักษรเพียงตัวเดียวก็บอกเล่าเรื่องราวเป็นร้อยป...
พิธีกรรม ตี กล้อง มโหระทึก ยุค ดึกดาบรรพ์

ตำนาน “ขุนบรม” โคตรเหง้าเผ่าไท สู่เครือข่ายเส้นทางการค้าข้ามคาบสมุทร

นิทาน “ขุนบรม” เป็นตำนานเก่าแก่ของ ชนชาติไทย สะท้อนการอพยพโยกย้ายและเคลื่อนตัวของชนชาติที่พูด ภาษาตระกูลไท-ไต จากจ้วง-ผู้ไท ทางตอนใต้ของจีนบริเวณมณฑลก...
อักษร เขมรโบราณ ศิลาจารึก ปราสาทบันทายศรี พุทธศตวรรษที่ 16 เขมร แขมร์ ขแมร์

คำว่า “เขมร” มาจากไหน เมื่อใดจึงเป็นเขมร-ขแมร์ ?

คำว่า “เขมร” ที่คนไทยใช้เรียกผู้คนและประเทศ “กัมพูชา” กันอย่างติดปากนั้น มีที่มาหรือเก่าแก่แค่ไหน อนึ่ง ชาวกัมพูชาซึ่งเรียกตนเองว่า “แขฺมร” หรือ ขแมร์...
อักษรไทย ฃ-ฅ

ทำไมต้องมี “ฃ-ฅ” ทั้งที่ “ข-ค” ก็ใช้แทนได้?

ปัจจุบันหากถามว่า อักษรไทย “ฃ-ฅ” มีหน้าที่อะไร ใช้ในคำไหนบ้าง คนส่วนใหญ่อาจส่ายหน้า เพราะตัวอักษรดังกล่าวแทบไม่ปรากฏให้เห็นในชีวิตประจำวันแล้ว แต่หากย...

สำนวน “ร้อยเอ็ดเจ็ดย่านน้ำ” หมายถึงอะไร “เจ็ดย่านน้ำ” มีอะไรบ้าง?

สำนวน “ร้อยเอ็ดเจ็ดย่านน้ำ” พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน อธิบายว่าเป็นภาษาปาก, เป็นคำวิเศษณ์ หมายถึง “ทั่วทุกแห่งหน” มักใช้ในรูปประโยคเช่น ฉันไปเที่ยว...
การพนัน เล่นถั่ว จิตรกรรมฝาผนัง

“อัปรีย์” แล้วทำไมต้องมี “สีกบาล” พ่วงต่อจนเป็น “อัปรีย์สีกบาล”?...

สำนวนที่ว่า "อัปรีย์สีกบาล" มักใช้เป็นสำนวนด่าว่าผู้ที่ทำอะไรไม่เหมาะสม คำว่า "อัปรีย์" คงไม่น่าสงสัยแต่อย่างใด เพราะแปลว่า "ไม่น่ารัก" เหตุที่แปลอย่า...
จิตรกรรมฝาผนัง วัดสุวรรณดาราราม อยุธยา

การปรากฏของ “กะเทย” ในเอกสารประวัติศาสตร์ ยุคแรกหมายถึงคนกลุ่มใด?

"กะเทย" คือคำแรก ๆ ที่นิยามถึงบุคคลเพศที่สาม อันนอกเหนือจากชายและหญิง พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ให้ความหมายของคำว่ากะเทย คือ "(1) น. คนที่...
หนู

ทำไมคนไทยใช้คำว่า “หนู” เรียกแทนตัวเอง หรือคนอายุน้อยกว่า

คำสรรพนามในภาษาไทยมีมากมายสารพัด ไม่ว่าจะเป็น ข้า เอ็ง เรา ฉัน ท่าน เธอ คุณ ผม กู มึง ฯลฯ แต่มีคำหนึ่งคือคำว่า "หนู" ที่ดูผิดแผกจากคำอื่น เพราะเหมือนเ...
ฝรั่ง หมอบรัดเลย์

เหตุใดคนไทยเรียกชาวตะวันตกผิวขาวว่า “ฝรั่ง” คำนี้มีพัฒนาการมาอย่างไร...

ที่มาของคำว่า "ฝรั่ง" ในสังคมไทย ต้องสืบย้อนกลับไปถึงยุโรปในยุคกลางช่วงปลายศตวรรษที่ 5 คำนี้เกี่ยวพันโดยตรงกับบรรพชนของชาวยุโรปกลุ่มหนึ่งที่เรียกว่า "...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น