เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพุธที่ 4 ธันวาคม พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก ภาษาเขมร

แท็ก: ภาษาเขมร

อักษรเขมรโบราณ ศิลาจารึก ปราสาทบันทายศรี พุทธศตวรรษที่ 16 จำวัด จำพรรษา จำศีล คำไทย จาก ภาษาเขมร จำวัด จำพรรษา จำศีล

“จำวัด-จำพรรษา-จำศีล” ทำไมต้องจำ “จำ” คำเขมรที่ยืมมาใช้ในภาษาไทย

จำวัด จำพรรษา จำศีล ทำไมต้องจำ “จำ” คำเขมรที่ยืมมาใช้ในภาษาไทย พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน อธิบายคำว่า “จำ” ไว้ใน 4 ความหมายด้วยคือ (1) ก. กำหนดไว้ใ...
การเทศน์ โยม

คำว่า “โยม” มาจากไหน? เหตุใดพระสงฆ์จึงเรียกฆราวาสว่า “โยม”...

คำว่า โยม พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ให้ความหมายว่า "โยม น. คำที่พระสงฆ์ใช้เรียกบิดามารดาของตน หรือเรียกผู้ใหญ่รุ่นราวคราวเดียวกับบิดามารด...
สมุทรปราการ แม่น้ำเจ้าพระยา ประกอบบทความ พระประแดง กัมรเตง

เปิดหลักฐานอยุธยา “พระประแดง” คำนี้มาจาก “กัมรเตง” ในภาษาเขมรโบราณ

“พระประแดง” เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดสมุทรปราการ ที่คนไทยส่วนมากคุ้นหู ส่วนหนึ่งอาจเป็นเพราะ “เทศกาลสงกรานต์พระประแดง” ที่มักเล่นกันอย่างสนุกสนานครึ้กคร...
พยัญชนะไทย ฌ กระเฌอ

จาก “ฌ เฌอ” เมื่อร้อยปีก่อน ถึง “ฌ กระเฌอ” พยัญชนะไทยที่มาจากเขมร

คำพูดที่ใครยินกันบ่อยคือ “ภาพภาพหนึ่งแทนอักษรนับหมื่นคำ” หากวันนี้จะชวนมองในมุมของตัวหนังสือบ้าง เพราะตัวอักษรเพียงตัวเดียวก็บอกเล่าเรื่องราวเป็นร้อยป...
อักษร เขมรโบราณ ศิลาจารึก ปราสาทบันทายศรี พุทธศตวรรษที่ 16 เขมร แขมร์ ขแมร์

คำว่า “เขมร” มาจากไหน เมื่อใดจึงเป็นเขมร-ขแมร์ ?

คำว่า “เขมร” ที่คนไทยใช้เรียกผู้คนและประเทศ “กัมพูชา” กันอย่างติดปากนั้น มีที่มาหรือเก่าแก่แค่ไหน อนึ่ง ชาวกัมพูชาซึ่งเรียกตนเองว่า “แขฺมร” หรือ ขแมร์...
การพนัน เล่นถั่ว จิตรกรรมฝาผนัง

“อัปรีย์” แล้วทำไมต้องมี “สีกบาล” พ่วงต่อจนเป็น “อัปรีย์สีกบาล”?...

สำนวนที่ว่า "อัปรีย์สีกบาล" มักใช้เป็นสำนวนด่าว่าผู้ที่ทำอะไรไม่เหมาะสม คำว่า "อัปรีย์" คงไม่น่าสงสัยแต่อย่างใด เพราะแปลว่า "ไม่น่ารัก" เหตุที่แปลอย่า...
จิตร ภูมิศักดิ์ ปราสาทนครวัด ตำรวจ

“ตำรวจ” มาจากไหน? ทำไมเรียก “ตำรวจ”? ฟังจาก “จิตร ภูมิศักดิ์”

อากาศคงคา กล่าวไว้ในเรื่อง ‘ประวัติตำรวจ’ ตอนหนึ่งว่า ‘ตำรวจ’ เป็นคำที่คิดตั้งขึ้นสมัยพระเจ้าบรมไตรโลกนารถ ข้อความนี้เป็นเนื้อหาสำคัญที่จะบันทึกต่อไป...
ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง มี คำยืม ภาษาเขมร

คำยืมภาษาเขมรที่ปรากฏในศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง

ศิลาจารึกหลักที่ 1 หรือ ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง มีข้อความหรือถ้อยคำจำนวนหนึ่งที่ปรากฏคำยืมจาก "ภาษาเขมร" แสดงให้เห็นว่าสุโขทัยรับอิทธิพลจากเขมรในระดับ...
ปราสาทนครวัด นครวัด กัมพูชา เขมร สมัย พระนคร

“เขมร” ไม่เรียกตัวเองว่า “ขอม” ไม่มีคำว่าขอมในภาษาเขมร คำว่า “ขอม” มาจากไหน?...

"ขอม เป็นคำภาษาไทย กลายจากภาษาเขมร ใช้เรียกกลุ่มคนพวกที่อยู่ตอนล่าง (ในไทย) บริเวณเป็นรัฐละโว้ (ลพบุรี) เมื่อเรือน พ.ศ. 1800 โดยไม่ระบุจำเพาะเผ่าพันธุ...
วัดคงคาราม ศิลปะ เชิงสังวาส จิตรกรรมไทย

คำว่า ชำเรา ที่พบตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ฤาจะไม่ใช่ภาษาไทย แต่ไปขอจากเขมร?

คำว่า "ชำเรา" ที่พบตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ฤาจะไม่ใช่ภาษาไทย แต่ไปขอจาก "เขมร" ? พาดหัวข่าวในหน้าหนังสือพิมพ์ปัจจุบัน มักหนีไม่พ้นข่าวเรื่องการล่ว...
โตนเลสาบ ทะเลสาบ ทะเลน้ำจืด ชาวเขมร กัมพูชา ชาวประมง

เหตุใดเรียกทะเลน้ำจืดว่า ทะเลสาบ ทําไม “ทะเล” ต้อง “สาบ” ?...

ทะเลสาบ แม้ไม่แปลความก็คงทราบกันอยู่โดยทั่วไปว่า หมายถึง ทะเลน้ำจืด แต่อาจมีบางท่านคิดไปว่า เหตุที่ จืด นั้น เพราะเป็นทะเลที่ถูก สาป กระมัง จึงได้ชื่อ...
สัพะ พะจะนะ พาสา ไท พจนานุกรม สังฆราชปาลเลอกัวซ์

เปิดราก “บัดสี-บัดเถลิง-บัดซบ” 3 คำนี้มาจากไหน ไม่ใช่คำไทยแท้หรอกหรือ?

“บัดสี-บัดเถลิง-บัดซบ” เมื่อมีคนอุทานถึง 3 คำนี้ คงเข้าใจได้ทันทีว่าผู้พูดน่าจะหมายถึงเรื่องน่าอาย ไม่เหมาะสม ประสบเหตุโชคร้ายหรือชีวิตไม่เป็นไปดังหวั...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น