เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพฤหัสที่ 25 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก พิธีกรรม

แท็ก: พิธีกรรม

ฮูปแต้ม พิธีฮดสรง ใน สิม วัดป่าเรไรย์ นาดูน มหาสารคาม สงกรานต์อีสาน

เปิดโลกพิธี “ฮดสรง” ประเพณีเก่าแก่แถบอีสาน จากอิทธิพลของอาณาจักรล้านช้าง...

“ฮดสรง” คือพิธีสรงน้ำหรือรินน้ำแก่พระสงฆ์ ซึ่งเป็นรูปแบบประเพณีที่เก่าแก่ของผู้คนในแถบอีสาน โดยได้รับอิทธิพลมาจากอาณาจักรล้านช้าง การจัดพิธีฮดสรงนั้นจ...
คเณศชยันตี วันประสูติ พระคเณศ หรือ พระพิฆเณศ

“คเณศชยันตี” วันประสูติพระคเณศ เทพแห่งความสำเร็จ ขจัดอุปสรรคขวากหนาม

“คเณศชยันตี” วันประสูติพระคเณศ หรือ “พระพิฆเนศ” ประจำ พ.ศ. 2567 ตรงกับวันที่ 13 กุมภาพันธ์ ถือเป็นวันเฉลิมฉลองแด่องค์พระคเณศ เทพเจ้าแห่งความสำเร็จ ผู้...
ชาวจ้วง กลองสำริด กลองมโหระทึก เทศกาลบูชามะก่วย บูชา เทพฟ้าผ่า

กบ กลอง และ “เทพฟ้าผ่า” การบูชาเพื่อความอุดมสมบูรณ์-เจริญเผ่าพันธุ์ของ “ชาวจ้วง”...

คติการบูชา “เทพฟ้าผ่า” ของ “ชาวจ้วง” เครือญาติเก่าแก่ของคนไทย ซึ่งพูดภาษาตระกูลเดียวกับเรา (ตระกูลไท-ลาว) ไม่เพียงเพื่อขอให้ฝนตกต้องตามฤดูกาล แต่ยังเพ...
ฟ้อนผีมด ฟ้อนผี

“ฟ้อนผีมด” พิธีไหว้ผีบรรพบุรุษในภาคเหนือ

“ฟ้อนผีมด” เป็นพิธีกรรมบวงสรวงผีบรรพบุรุษในภาคเหนือ เรียกอย่างย่อว่า “ฟ้อนผี” และมีฟ้อนผีอีกชนิดหนึ่งว่า “ฟ้อนผีเม็ง”  ฟ้อนผีมดผีเม็ง สันนิษฐานว่า ...
ภาพแกะสลัก ที่ ปราสาทพนมรุ้ง อาจเป็น พิธีเบิกพรหมจารี

พระเขมรทำพิธี “ล่วงล้ำอวัยวะเพศ-เสพเมถุน” กับเด็กสาวพรหมจรรย์?

ใน พ.ศ. 1838 โจวต้ากวาน ทูตจีนแห่งราชสำนักหยวนได้เดินทางมายัง เขมร เพื่อเกลี้ยกล่อมให้อาณาจักรเขมรยอมสวามิภักดิ์ ระหว่างนั้นเขาได้ใช้เวลากว่า 1 ปี ในด...
พระคเณศ

“พระคเณศ” ไม่ใช่ “เทพศิลปะ” รัชกาลที่ 6 ทรงทำให้เป็นเทพศิลปะ...

"พระคเณศ" ไม่ใช่ "เทพศิลปะ" รัชกาลที่ 6 ทรงทำให้เป็น "เทพศิลปะ" !? ในความคิดของชาวอินเดีย ศิลปะเป็นอัญมณีอันล้ำค่าที่สุดของอารยธรรมมนุษย์ และในศิลปะท...
หน้ากากเผ่าไต ผีตาโขน

หน้ากากเผ่าไตภาคใต้ของจีน สู่ผีตาโขนของไทย

หน้ากากเผ่าไตภาคใต้ของจีน เกี่ยวข้อง “ผีตาโขน”ของไทยหรือไม่ อย่างไร? มนุษย์ยุคดึกดำบรรพ์คิดว่าธรรมชาติรอบกายเช่น พายุ ฝนตก ฟ้าร้อง ไฟไหม้ป่า เหล่านี้...
โนราโรงครู

เจาะลึก “โนราโรงครู” พิธีกรรมหาชมยาก น้อมรำลึกบรรพชนของคนใต้

ความพิเศษของ “โนรา” ไม่ใช่เพียงศิลปะการร่ายรำอันมีท่วงท่างดงาม แต่ยังมีความเกี่ยวพันกับวิถีชีวิตของชาวใต้อย่างใกล้ชิด ก่อเกิดเป็นพิธีกรรมอย่าง “โนราโร...
นาคมอญ บวชนาค

ธรรมเนียมแต่งสวยก่อนบวช

ประเทศไทยไม่เพียงแต่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ ที่มีมากถึง 54 กลุ่มชาติพันธุ์เท่านั้น และเมื่อพิจารณาในแต่ละกลุ่มชาติพันธุ์ก็พบความหลากหลายระหว่างกัน...
ลอยอังคาร

ที่มา “พิธีลอยอังคาร” ลอยทำไม เหตุใดเรียกเถ้ากระดูกว่า “อังคาร” ?...

"ลอยอังคาร" คือพิธีกรรมที่ญาติมิตรของผู้วายชนม์ปฏิบัติเพื่อเป็นการส่งดวงวิญญาณ โดยเชื่อว่าเป็นส่วนหนึ่งในการส่งให้ผู้ล่วงลับไปสู่ภพภูมิที่ดีและมีความส...

ตำนานความเชื่อเรื่อง “ข้าว” ค้นต้นตอของวลี “อย่าทานข้าวเหลือ แม่โพสพจะเสียใจ”...

...สังคมไทยเป็นสังคมเกษตรกรรม วิถีชีวิตชาวบ้านไทยผูกพันอยู่กับการทำนาปลูกข้าว มีเรื่องเล่ามากมายเล่าถึงตำนานความเชื่อเรื่อง ข้าว ดังตัวอย่างตำนานข้าวใ...

ตามรอยพิธีกรรมโบราณ การบูชาน้ำ-ขอฝน ที่อำเภอแม่แจ่ม เชียงใหม่

“สะนันตุ พะละโต ดูการาเทพยดาทั้งหลาย มีภุมมะเทวดา รุกขะเทวดา อากาศะเทวดา และแม่ธรณีเจ้าแม่คงคาทั้งหลาย อันอยู่รักษาต้นน้ำและแม่น้ำน้อยใหญ่ทุกเส้นทุกสา...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น