แท็ก: พราหมณ์-ฮินดู
“พระแม่ลักษมี” ในเทวปกรณัม มหาเทวีผู้ทรงอานุภาพด้านความรักและโชคลาภ
“พระแม่ลักษมี” ในเทวปกรณัม มหาเทวีผู้ทรงอานุภาพด้านความรักและโชคลาภ
นิยายเทวปกรณัมฮินดูหลายเรื่องที่นำเสนอเกี่ยวกับความรักและโชคลาภมักกล่าวถึง “พระลั...
มิติทางศาสนาของ “ประจำเดือน” สิ่งสกปรกหรือสัญลักษณ์ศักดิ์สิทธิ์ !?
หากมองข้ามข้อเท็จจริงทางวิทยาศาสตร์หรือความรู้สมัยใหม่ออกไป เคยสงสัยกันไหมว่า “ประจำเดือน” ของผู้ที่มีเพศสรีระเป็นหญิงอยู่ตรงไหน หรือมีสถานะอย่างไรในท...
คนฮินดูวรรณะต่ำในอินเดีย นับถืออะไรกัน?
แม้ทุกวันนี้ในทางกฎหมายสังคมอินเดียจะไม่มี “วรรณะ” กันแล้ว แต่ในทางปฏิบัติหรือวิถีชีวิตโดยทั่วไปของพวกเขายังข้องเกี่ยวกับวรรณะต่าง ๆ อยู่ไม่น้อย ความแ...
“คเณศจตุรถี” เทศกาลเฉลิมฉลองพระคเณศ ขอฝน หรือ วันเกิด?
คเณศจตุรถี เทศกาลเฉลิมฉลองของชาวฮินดูที่นับถือองค์ พระคเณศ หรือ พระพิฆเนศ เทพพระเศียรช้างที่คนไทยคุ้นเคยดี เทศกาลดังกล่าวจะมีในช่วงเดือน “ภัทรบท” หรือ...
“วารุณี” หรือสุราเทวี เทพีแห่งสุรา ชายาพระวรุณ
ทัศนะต่อ “สุรา” หรือเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทั้งหลายของผู้คนแปรเปลี่ยนไปตามกาลสมัย แต่ในอดีต สังคมฮินดูเคยยกย่องสุราถึงขนาดมีเทวีประจำสิ่งมึนเมานี้ นั่นคื...
“พระตรีมูรติ” ภาวะรวมร่าง 3 มหาเทพ กับเทวรูปหน้าเซ็นทรัลเวิลด์ ที่คนไปขอพรความรั...
พระตรีมูรติ คือเทพที่หลายคนมีภาพจำว่าเป็นเทพที่อำนวยพรเรื่อง “ความรัก” ยิ่งเมื่อเทศกาลวันวาเลนไทน์เวียนมาถึง ภาพที่พบเห็นทุกปีคือหน้าห้างสรรพสินค้าเซ็...
“พระคเณศ” ไม่ใช่ “เทพศิลปะ” รัชกาลที่ 6 ทรงทำให้เป็นเทพศิลปะ...
"พระคเณศ" ไม่ใช่ "เทพศิลปะ" รัชกาลที่ 6 ทรงทำให้เป็น "เทพศิลปะ" !?
ในความคิดของชาวอินเดีย ศิลปะเป็นอัญมณีอันล้ำค่าที่สุดของอารยธรรมมนุษย์ และในศิลปะท...
ที่มา “พิธีลอยอังคาร” ลอยทำไม เหตุใดเรียกเถ้ากระดูกว่า “อังคาร” ?...
"ลอยอังคาร" คือพิธีกรรมที่ญาติมิตรของผู้วายชนม์ปฏิบัติเพื่อเป็นการส่งดวงวิญญาณ โดยเชื่อว่าเป็นส่วนหนึ่งในการส่งให้ผู้ล่วงลับไปสู่ภพภูมิที่ดีและมีความส...
“วัดศรีสวาย” อดีตโบสถ์พราหมณ์-ฮินดู สู่วัดพุทธ
รู้หรือไม่? วัดศรีสวาย อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย เคยเป็นโบสถ์พราหมณ์ ที่ใช้ในพิธีโล้สำเภา ทั้งยังเป็นพื้นที่ประกอบพิธีกรรมทางศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ก่อนจ...
พระราชพิธีพืชมงคล ทำไมใช้ “วัว” ทำนาย ทั้งที่ใช้ “ควาย” ทำนา
สงสัยกันไหม? ใน พระราชพิธีพืชมงคล หรือพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ เหตุใดใช้ พระโค หรือ “วัว” เป็นผู้ทำนาย ทั้งที่สังคมไทยแต่โบราณกาลใช้ “คว...
ชาวฮินดูไม่กิน “วัว” เป็นส่วนใหญ่ ไม่ใช่ทั้งหมด เพราะบางส่วนกินกันปกติ!
เป็นที่ทราบกันดีว่า คนอินเดีย ที่เป็น “ฮินดู” มีข้อห้ามเรื่อง “เนื้อวัว” คือ ไม่ฆ่า ไม่กิน เพราะเป็นบาปใหญ่ (ปาตกะ) สาเหตุเนื่องมาจาก “วัว” ถือเป็นสัต...
“ลังกา” แผ่นดินแห่งพันธสัญญาในคัมภีร์พุทธศาสนา?
คัมภีร์มหาวงศ์ ตำราพุทธศาสนาเก่าแก่ของ “ลังกา” หรือประเทศศรีลังกา บอกเล่าความเป็น “แผ่นดินแห่งพันธสัญญา” ของเกาะลังกา และการเป็นชนชาติที่พระ (พุทธ) เจ...